Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Gonatopus boivinii
Gonatopus boivinii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Gonatopus boivinii
(Decne.) Engl.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Gonatopus boivinii var. lanceolatus Peter
- Zamioculcas boivinii Decne.
ชื่อไทย:
-
บุกเข่ายีราฟ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Alismatales
วงศ์::
Araceae
สกุล:
Gonatopus
วันที่อัพเดท :
20 ก.พ. 2568 13:35 น.
วันที่สร้าง:
20 ก.พ. 2568 13:35 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุกอายุหลายปี สูงประมาณ 1 เมตร ลำต้นใด้ดินเป็นหัวรูปกลมแป้น สีน้ำตาลอ่อน พักตัวในหน้าแล้ง ใบ ประกอบแบบขนนก 4-5 ชั้น รูปกึ่งสามเหลี่ยม ขนาดประมาณ 45 เซนติเมตร มีกาบหุ้มใบอ่อน รูปสามเหลี่ยมแคบ ก้านใบยาวประมาณ 50 เซนติเมตร สีเขียวอ่อน มีประ ปื้น หรือเส้นสีน้ำตาลอมเขียว ใบย่อยรูปใบหอก กว้างประมาณ 3 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร เมื่อร่วงลงพื้นจะเกิดเป็นหัวใหม่ที่โคนใบย่อย ดอก แบบช่อเชิงลดมีกาบ สีขาวนวล ออกที่โคนลำต้น ช่อดอกออกครั้งละ 2 -5 ช่อ ก้าน ช่อดอกยาวประมาณ 35 เชนติเมตร กาบรูปขอบขนานแกม ใบหอก ช่อดอกตอนบนเป็นดอกเพศผู้จำนวนมากเรียงอัดกันแน่น แต่ละดอกมีเกสรเพศผู้ 3-6 เกสร สีขาวนวล ตอนล่างเป็นดอก เพศเมียเรียงอัดกันแน่น กลีบรวม 4 กลีบ รังไข่เหนือวงกลีบถูกหุ้ม ปิดด้วยกาบใบตอนล่างที่ม้วนซ้อนทับกัน ผล มีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด เมื่อสุกสีส้มแดง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ออกดอกเดือนมีนาคม - เมษายน
การกระจายพันธุ์ :
-
เขตร้อนของแอฟริกาตะวันออก ในประเทศไทย พบในป่าที่มีดินทราย หรือป่าผลัดใบ
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด และแยกหน่อ
ที่มาของข้อมูล
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Sesamum orientale
Maesa racemosa
Amomum krervanh
ไคร้หางนาค
Phyllanthus taxodiifolius
Ficus benjamina
Spermacoce exilis
Previous
Next