Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Aganosma marginata
Aganosma marginata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Aganosma marginata
(Roxb.) G.Don
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
โมกเครือ
-
ไส้ตัน
-
มะเดื่อดิน
ชื่อท้องถิ่น::
-
เดื่อเครือ เดื่อดิน เดื่อเถา เดื่อไม้ เดือยดิน เดื
-
โมกเครือ,เดื่อเครือ,เดื่อดิน,เดื่อเถา.เดื่อไม้(ภาคเหนือ),เครือไส้ตัน (หนองคาย,ยโสธร),เดือยดิน (ประจวบคีรีขันธ์),เดือยดิบ (กระบี่) ,ตะซือบลาโก๊ะ(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน),พิษ(ภาคกลาง),มะเดื่อดิน(ทั่วไป),มะเดือ่เถา (ราชบุรี,ภาคเหนือ),ย่านเดือยบิด(สุราษฎร์ธานี),
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Amphineurion
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
-
ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
-
ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
-
ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
-
ต้นสูง 4- 10 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น 7.4 – 11.8 มิลลิเมตร รูปร่างใบขอบขนาน กว้าง 4.0 – 5.2 เซนติเมตร ยาว 8.2 – 12.1 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0.4 – 0.6 เซนติเมตร ช่อดอกมี 4 – 5 ดอก ยาว 6.0 – 6.5 เซ็นติเมตร ดอกย่อยยาว 1.36 – 2.0 เซนติเมตร
-
ไม้เถาเลื้อยพันมีน้ำยางขาว สูง 5-10 ม. ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ม. ยาว 6.5-8.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
-
พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
-
พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
-
พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
-
พบในพื้นที่สวนป่า ไม้เบญจพรรณ ป่าพลวง ดินร่วนปนทราย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
หมู่เกาะอ่างทอง
-
ภูผาเทิบ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
-
สุราษฏร์ธานี
-
มุกดาหาร
-
อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 130 เมตร
-
ลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย/ไม้เถา
-
ไม้เลื้อย/ไม้เถา
-
ไม้เถาเลื้อยพัน มีน้ำยางสีขาว ลำต้นสีน้ำตาลเข้ม ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามมี 8 – 13 คู่ ขอบใบเรียบ (entire) ใบเป็นมัน หน้าใบหลังใบไม่มีขน ยอดอ่อนสีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม ออกดอกที่ยอดหรือปลายกิ่ง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย สีขาว ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
-
ไม้ยืนต้น
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
อาหาร
-
ยอดไส้ตันใช้แก้ท้องเสีย ต้น ในตำรายาไทยเนื่องจากต้นมีรสเฝื่อน ฝาด จึงนำมาเข้ายารักษาประดง (อาการปวดผิวหนังมีผื่นคัน คล้ายผด คันมากมักมีไข้ร่วม) แก้พิษฝีภายในตำรายาพื้นบ้าน ใช้ต้นผสมกับผลมะตูมอ่อน เถาสิงโตทั้งต้น และว่านมหากาฬทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม รักษาเบาหวาน รากบำรังกำลังช่วงฟื้นไข้ แก้ไตพิการ (ปัสสาวะขุ่นข้น สีเหลืองหรือแดง มีอาการแน่นท้องกินอาหารไม่ได้) และตับพิการ บำรุงและขับฤดู หรือผสมแก่นลั่นทมต้มน้ำดื่มเป็นยาระบาย ใบแก้เมื่อยขบ เข้ายาทารักษาฝีและริดสีดวงทวาร
-
4.1 Medicine for human (ยารักษาโรคมนุษย์)
-
นำเอารากมาต้มดื่ม เป็นยาแก้ไอ
-
4.1 Medicine for human (ยารักษาโรคมนุษย์)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2002-0706
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2003-0449
NSM
Nakhon Ratchasima
THNHM-P-2003-0450
NSM
Nakhon Ratchasima
THNHM-P-2003-0451
NSM
Nakhon Ratchasima
THNHM-P-2002-0706
NSM
Ratchaburi
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คู่มือพันธ์ุไม้ท้องถิ่น ตำบลแม่กิ๊ก อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ophiopogon siamensis
Impatiens santisukii
Chrozophora rottleri
โกฐจุฬาลัมพา
Artemisia pallens
Liparis condylobulbon
Litsea megacarpa
Previous
Next