ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 15-25 ม. ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงแบบเวียน ใบย่อย กว้าง 1-2 ซม. ยาว 1.5-3.5 ซม. โคนเบี้ยว ด้านบนสีเขียวอมเทา ด้านล่างสีอ่อนกว่ามีนวลเล็กน้อย ช่อดอกยาว 7.5-20 ซม. ดอกสีเหลืองอ่อน ก้านดอกเกลี้ยง กลีบดอกขนาด 3-4.5 มม. ฝักโค้ง กว้าง 1.2-1.6 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
เชียงใหม่
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
-
พิษณุโลก
-
นครราชสีมา
-
เพชรบูรณ์
-
ระยอง, จันทบุรี
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ระยอง
-
ลำปาง
-
พะเยา
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ปัตตานี
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
เลย
-
ลำปาง, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ศรีสะเกษ
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ศรีสะเกษ
-
ชุมพร
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สุรินทร์
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกทรายขาว
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ลำต้น : ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ยอดอ่อนมีขนนุ่มเป็นมันคล้ายเส้นไหม เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา บางครั้งมีรอยแตกระแหงเล็กๆ โคนต้นเป็นพูพอนต่ำ
- ใบ : ประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-40 ซม. ช่อแขนงด้านข้างมี 2-6 คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 7-15 คู่ เรียงสลับ ใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.6-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว ผิวใบด้านล่างสีนวลมีขน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม.
- ดอก : ออกเป็นช่อกลมยาว ตามกิ่งและซอกใบ ก้านดอกสั้น สีเหลือง ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน ดอกบานเต็มที่กว้าง 4-6 มม.
- ผล : ฝักแห้งแตก ฝักแบนยาวสีน้ำตาลกว้าง 1.2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ฝักแก่จะบิดงอ เมล็ด สีแดง รูปร่างแบนและกลมหรือรี มีหลายเมล็ด
- ใบ : ประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-40 ซม. ช่อแขนงด้านข้างมี 2-6 คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 7-15 คู่ เรียงสลับ ใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.6-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว ผิวใบด้านล่างสีนวลมีขน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม.
- ดอก : ออกเป็นช่อกลมยาว ตามกิ่งและซอกใบ ก้านดอกสั้น สีเหลือง ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน ดอกบานเต็มที่กว้าง 4-6 มม.
- ผล : ฝักแห้งแตก ฝักแบนยาวสีน้ำตาลกว้าง 1.2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ฝักแก่จะบิดงอ เมล็ด สีแดง รูปร่างแบนและกลมหรือรี มีหลายเมล็ด
-
- ลำต้น : ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 15-20 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดเป็นพุ่มกลม ยอดอ่อนมีขนนุ่มเป็นมันคล้ายเส้นไหม เปลือกเรียบสีน้ำตาลปนเทา บางครั้งมีรอยแตกระแหงเล็กๆ โคนต้นเป็นพูพอนต่ำ
- ใบ : ประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-40 ซม. ช่อแขนงด้านข้างมี 2-6 คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 7-15 คู่ เรียงสลับ ใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.6-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว ผิวใบด้านล่างสีนวลมีขน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม.
- ดอก : ออกเป็นช่อกลมยาว ตามกิ่งและซอกใบ ก้านดอกสั้น สีเหลือง ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน ดอกบานเต็มที่กว้าง 4-6 มม.
- ผล : ฝักแห้งแตก ฝักแบนยาวสีน้ำตาลกว้าง 1.2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ฝักแก่จะบิดงอ เมล็ด สีแดง รูปร่างแบนและกลมหรือรี มีหลายเมล็ด
- ใบ : ประกอบแบบขนนกสองชั้น ปลายคี่ เรียงสลับ ยาว 15-40 ซม. ช่อแขนงด้านข้างมี 2-6 คู่ เรียงตรงข้าม ใบย่อย 7-15 คู่ เรียงสลับ ใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 0.6-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายใบมน โคนใบเบี้ยว ผิวใบด้านล่างสีนวลมีขน ขอบใบเรียบ เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบย่อยยาว 1-2 มม.
- ดอก : ออกเป็นช่อกลมยาว ตามกิ่งและซอกใบ ก้านดอกสั้น สีเหลือง ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ปลายแยก 5 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ไม่มีขน ดอกบานเต็มที่กว้าง 4-6 มม.
- ผล : ฝักแห้งแตก ฝักแบนยาวสีน้ำตาลกว้าง 1.2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ฝักแก่จะบิดงอ เมล็ด สีแดง รูปร่างแบนและกลมหรือรี มีหลายเมล็ด
การขยายพันธุ์ :
-
โดยการเพาะเมล็ด
-
โดยการเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
COUNTRY CULTIVAR
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |
---|---|---|---|---|
DOATR 00003 | มะกล่ำตาช้าง | Adenanthera pavonina | ปทุมธานี | |
DOATR 00008 | มะกล่ำตาช้าง | Adenanthera pavonina | อุบลราชธานี | |
DOATR 00025 | มะกล่ำตาช้าง | Adenanthera pavonina | สุพรรณบุรี | |
DOATR 00054 | มะกล่ำตาช้าง | Adenanthera pavonina | ปทุมธานี | |
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |