ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. ผิวใบด้านล่างมีสีนวล มีขนทั้งสองด้าน ดอกเดี่ยว หรือเป็นกลุ่ม ออกที่ซอกใบหรือตามกิ่ง กลีบดอกสีชมพูอ่อน ขอบกลีบมีขนชายครุย ร่วงง่าย เกสรเพศผู้มี 3 มัด แต่ละมัดปลายแยกคล้ายพู่ ออกดอกเดือน ก.พ.-มิ.ย.
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ผลัดใบ อาจสูงได้ถึง 20 ม. ต้นอ่อนมีหนาม เปลือกแตกเป็นสะเก็ดหนา สีน้ำตาลดำ กิ่งเกลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3–10 ซม. แผ่นใบเกลี้ยง ก้านใบยาว 2–7 มม. ปลายมนหรือแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง ใบอ่อนสีน้ำตาลแดง ช่อดอกมี 1–8 ดอก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบที่หลุดร่วง ก้านดอกยาว 0.3–1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาว 5–7 มม. ปลายมน มีต่อมเป็นริ้วกระจาย ดอกสีขาวอมชมพู กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1–1.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ ปลายกลีบมีต่อมกระจาย ขอบมีขนครุย ปลายกลม มีเกล็ดขนาดเล็ก มัดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม. ระหว่างมัดมีเกล็ดรูปลิ้นขนาดเล็ก ก้านชูอับเรณูยาวเท่า ๆ มัดเกสรเพศผู้ แกนอับเรณูไม่มีต่อม รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาว 3–8 มม. ผลรูปขอบขนาน ยาว 0.6–1.5 ซม. กลีบเลี้ยงหุ้มประมาณกึ่งหนึ่ง เมล็ดยาว 6–7 มม. รวมปีก
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. ผิวใบด้านล่างมีสีนวล มีขนทั้งสองด้าน ดอกเดี่ยว หรือเป็นกลุ่ม ออกที่ซอกใบหรือตามกิ่ง กลีบดอกสีชมพูอ่อน ขอบกลีบมีขนชายครุย ร่วงง่าย เกสรเพศผู้มี 3 มัด แต่ละมัดปลายแยกคล้ายพู่ ออกดอกเดือน ก.พ.-มิ.ย.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. ผิวใบด้านล่างมีสีนวล มีขนทั้งสองด้าน ดอกเดี่ยว หรือเป็นกลุ่ม ออกที่ซอกใบหรือตามกิ่ง กลีบดอกสีชมพูอ่อน ขอบกลีบมีขนชายครุย ร่วงง่าย เกสรเพศผู้มี 3 มัด แต่ละมัดปลายแยกคล้ายพู่ ออกดอกเดือน ก.พ.-มิ.ย.
-
ไม้ต้น สูง 10-20 ม. ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-4.5 ซม. ยาว 7-10 ซม. ผิวใบด้านล่างมีสีนวล มีขนทั้งสองด้าน ดอกเดี่ยว หรือเป็นกลุ่ม ออกที่ซอกใบหรือตามกิ่ง กลีบดอกสีชมพูอ่อน ขอบกลีบมีขนชายครุย ร่วงง่าย เกสรเพศผู้มี 3 มัด แต่ละมัดปลายแยกคล้ายพู่ ออกดอกเดือน ก.พ.-มิ.ย.
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
-
-
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า หนองทุ่งทอง
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูเวียง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
ชลบุรี
-
ราชบุรี
-
พิษณุโลก
-
สงขลา
-
อุตรดิตถ์
-
จันทบุรี
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
อุตรดิตถ์
-
สุราษฎร์ธานี
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
จันทบุรี
-
ระยอง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
กาญจนบุรี
-
ลำปาง
-
พะเยา
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
สระบุรี
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
สระแก้ว
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
ขอนแก่น
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
กำแพงเพชร
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
เลย, เพชรบูรณ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง มีความสูงได้ประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนขึ้นหนาแน่น เปลือกต้นด้านนอกเป็นสีน้ำตาลปนดำ แตกเป็นสะเก็ดตามยาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลเหลือง และมียางเหนียว ๆ สีเหลืองปนแดง กิ่งขนาดเล็กตามลำต้นมักแปรสภาพเป็นหนามแข็ง ๆ พบขึ้นตามป่าผลัดใบและป่าเบญจพรรณแล้งทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 200-1,000 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-4.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-13 เซนติเมตร แผ่นใบบางมีขนทั้งสองด้าน หลังใบมีขนสาก ๆ ส่วนท้องใบเป็นขนนุ่มหนาแน่น ส่วนใบอ่อนเป็นสีแดงหรือสีชมพูเรื่อ ใบแก่ก่อนผลัดใบเป็นสีแดง ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกเป็นสีชมพูอ่อนถึงสีแดง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกเกลี้ยงและยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบเลี้ยง ขอบกลีบดอกมีขนสีขาว ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ มีขนขึ้นประปรายอยู่ด้านนอก ดอกมีเกสรเพศผู้มาก และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม รังไข่มีลักษณะเป็นรูปรี ๆ เกลี้ยง ๆ ผลเป็นผลแห้ง ลักษณะของผลเป็นรูปรี ปลายแหลม มีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.8-2 เซนติเมตร ผลแข็งมีคราบสีนวล ๆ ตามผิว มีกลีบเลี้ยงหุ้มเกินครึ่งผล ผลเมื่อแห้งจะแตกอ้าออกได้เป็น 3 พู สีน้ำตาล ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปขอบขนานเล็ก ๆ และมีปีกโค้ง ๆ ออกดอกและติดผลในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง มีความสูงได้ประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนขึ้นหนาแน่น เปลือกต้นด้านนอกเป็นสีน้ำตาลปนดำ แตกเป็นสะเก็ดตามยาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลเหลือง และมียางเหนียว ๆ สีเหลืองปนแดง กิ่งขนาดเล็กตามลำต้นมักแปรสภาพเป็นหนามแข็ง ๆ พบขึ้นตามป่าผลัดใบและป่าเบญจพรรณแล้งทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 200-1,000 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-4.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-13 เซนติเมตร แผ่นใบบางมีขนทั้งสองด้าน หลังใบมีขนสาก ๆ ส่วนท้องใบเป็นขนนุ่มหนาแน่น ส่วนใบอ่อนเป็นสีแดงหรือสีชมพูเรื่อ ใบแก่ก่อนผลัดใบเป็นสีแดง ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกเป็นสีชมพูอ่อนถึงสีแดง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกเกลี้ยงและยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบเลี้ยง ขอบกลีบดอกมีขนสีขาว ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ มีขนขึ้นประปรายอยู่ด้านนอก ดอกมีเกสรเพศผู้มาก และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม รังไข่มีลักษณะเป็นรูปรี ๆ เกลี้ยง ๆ ผลเป็นผลแห้ง ลักษณะของผลเป็นรูปรี ปลายแหลม มีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.8-2 เซนติเมตร ผลแข็งมีคราบสีนวล ๆ ตามผิว มีกลีบเลี้ยงหุ้มเกินครึ่งผล ผลเมื่อแห้งจะแตกอ้าออกได้เป็น 3 พู สีน้ำตาล ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปขอบขนานเล็ก ๆ และมีปีกโค้ง ๆ ออกดอกและติดผลในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง มีความสูงได้ประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนขึ้นหนาแน่น เปลือกต้นด้านนอกเป็นสีน้ำตาลปนดำ แตกเป็นสะเก็ดตามยาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลเหลือง และมียางเหนียว ๆ สีเหลืองปนแดง กิ่งขนาดเล็กตามลำต้นมักแปรสภาพเป็นหนามแข็ง ๆ พบขึ้นตามป่าผลัดใบและป่าเบญจพรรณแล้งทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 200-1,000 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-4.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-13 เซนติเมตร แผ่นใบบางมีขนทั้งสองด้าน หลังใบมีขนสาก ๆ ส่วนท้องใบเป็นขนนุ่มหนาแน่น ส่วนใบอ่อนเป็นสีแดงหรือสีชมพูเรื่อ ใบแก่ก่อนผลัดใบเป็นสีแดง ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกเป็นสีชมพูอ่อนถึงสีแดง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกเกลี้ยงและยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบเลี้ยง ขอบกลีบดอกมีขนสีขาว ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ มีขนขึ้นประปรายอยู่ด้านนอก ดอกมีเกสรเพศผู้มาก และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม รังไข่มีลักษณะเป็นรูปรี ๆ เกลี้ยง ๆ ผลเป็นผลแห้ง ลักษณะของผลเป็นรูปรี ปลายแหลม มีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.8-2 เซนติเมตร ผลแข็งมีคราบสีนวล ๆ ตามผิว มีกลีบเลี้ยงหุ้มเกินครึ่งผล ผลเมื่อแห้งจะแตกอ้าออกได้เป็น 3 พู สีน้ำตาล ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปขอบขนานเล็ก ๆ และมีปีกโค้ง ๆ ออกดอกและติดผลในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง มีความสูงได้ประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนขึ้นหนาแน่น เปลือกต้นด้านนอกเป็นสีน้ำตาลปนดำ แตกเป็นสะเก็ดตามยาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลเหลือง และมียางเหนียว ๆ สีเหลืองปนแดง กิ่งขนาดเล็กตามลำต้นมักแปรสภาพเป็นหนามแข็ง ๆ พบขึ้นตามป่าผลัดใบและป่าเบญจพรรณแล้งทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 200-1,000 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-4.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-13 เซนติเมตร แผ่นใบบางมีขนทั้งสองด้าน หลังใบมีขนสาก ๆ ส่วนท้องใบเป็นขนนุ่มหนาแน่น ส่วนใบอ่อนเป็นสีแดงหรือสีชมพูเรื่อ ใบแก่ก่อนผลัดใบเป็นสีแดง ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกเป็นสีชมพูอ่อนถึงสีแดง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกเกลี้ยงและยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบเลี้ยง ขอบกลีบดอกมีขนสีขาว ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ มีขนขึ้นประปรายอยู่ด้านนอก ดอกมีเกสรเพศผู้มาก และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม รังไข่มีลักษณะเป็นรูปรี ๆ เกลี้ยง ๆ ผลเป็นผลแห้ง ลักษณะของผลเป็นรูปรี ปลายแหลม มีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.8-2 เซนติเมตร ผลแข็งมีคราบสีนวล ๆ ตามผิว มีกลีบเลี้ยงหุ้มเกินครึ่งผล ผลเมื่อแห้งจะแตกอ้าออกได้เป็น 3 พู สีน้ำตาล ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปขอบขนานเล็ก ๆ และมีปีกโค้ง ๆ ออกดอกและติดผลในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 3-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 35 เมตร ผลัดใบ โคนต้นมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลม ลำต้นมีน้ำยางเหลือง กิ่งก้านเล็กเรียว กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลแดง แตกล่อนเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแกมเหลือง และมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียบ ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบโค้งเรียบ ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีชมพูอ่อนถึงแดง เรียบ เป็นมันวาว ในฤดูหนาวจะเห็นเรือนพุ่มทั้งหมดเป็นสีชมพูอ่อน ใบแก่สีเขียวสด เรียบ เกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ด้านล่างมีต่อมกระจายทั่วไปใบแก้สีแดงหรือสีแสด เส้นใบข้าง 7-10 คู่ ซึ่งจะโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.6-1.6 เซนติเมตร ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพูอ่อนถึงแดง กลีบดอกบาง มี 5 กลีบ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกตามซอกใบ ร่วงง่าย ดอกบานขยายออกราว 1.2 เซนติเมตร มีก้านเรียว เล็ก และกาบเล็กๆที่ฐานกลีบด้านใน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก สั้น สีเหลือง ก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม เกสรเพศเมีย มีก้านเกสรตัวเมียสีเขียวอ่อนมี 3 อัน มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขียวอ่อนปนแดง ผลแห้ง แตกได้ รูปไข่แกมกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ผลมีนวลขาวติดตามผิว เมื่อแก่มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลดำ ผลแบบแคปซูล ปลายแหลม ผิวเรียบและแข็ง ขนาด กว้าง 0.4-0.6 เซนติเมตร ยาว 1.3-1.8 เซนติเมตร แตกออกเป็น 3 แฉก มีเมล็ดสีน้ำตาล ที่ฐานมีกลีบเลี้ยงยังคงอยู่ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือน มกราคมถึงพฤษภาคม ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 3-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 35 เมตร ผลัดใบ โคนต้นมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลม ลำต้นมีน้ำยางเหลือง กิ่งก้านเล็กเรียว กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลแดง แตกล่อนเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแกมเหลือง และมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียบ ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบโค้งเรียบ ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีชมพูอ่อนถึงแดง เรียบ เป็นมันวาว ในฤดูหนาวจะเห็นเรือนพุ่มทั้งหมดเป็นสีชมพูอ่อน ใบแก่สีเขียวสด เรียบ เกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ด้านล่างมีต่อมกระจายทั่วไปใบแก้สีแดงหรือสีแสด เส้นใบข้าง 7-10 คู่ ซึ่งจะโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.6-1.6 เซนติเมตร ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพูอ่อนถึงแดง กลีบดอกบาง มี 5 กลีบ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกตามซอกใบ ร่วงง่าย ดอกบานขยายออกราว 1.2 เซนติเมตร มีก้านเรียว เล็ก และกาบเล็กๆที่ฐานกลีบด้านใน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก สั้น สีเหลือง ก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม เกสรเพศเมีย มีก้านเกสรตัวเมียสีเขียวอ่อนมี 3 อัน มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขียวอ่อนปนแดง ผลแห้ง แตกได้ รูปไข่แกมกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ผลมีนวลขาวติดตามผิว เมื่อแก่มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลดำ ผลแบบแคปซูล ปลายแหลม ผิวเรียบและแข็ง ขนาด กว้าง 0.4-0.6 เซนติเมตร ยาว 1.3-1.8 เซนติเมตร แตกออกเป็น 3 แฉก มีเมล็ดสีน้ำตาล ที่ฐานมีกลีบเลี้ยงยังคงอยู่ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือน มกราคมถึงพฤษภาคม ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 3-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 35 เมตร ผลัดใบ โคนต้นมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลม ลำต้นมีน้ำยางเหลือง กิ่งก้านเล็กเรียว กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลแดง แตกล่อนเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแกมเหลือง และมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียบ ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบโค้งเรียบ ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีชมพูอ่อนถึงแดง เรียบ เป็นมันวาว ในฤดูหนาวจะเห็นเรือนพุ่มทั้งหมดเป็นสีชมพูอ่อน ใบแก่สีเขียวสด เรียบ เกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ด้านล่างมีต่อมกระจายทั่วไปใบแก้สีแดงหรือสีแสด เส้นใบข้าง 7-10 คู่ ซึ่งจะโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.6-1.6 เซนติเมตร ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพูอ่อนถึงแดง กลีบดอกบาง มี 5 กลีบ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกตามซอกใบ ร่วงง่าย ดอกบานขยายออกราว 1.2 เซนติเมตร มีก้านเรียว เล็ก และกาบเล็กๆที่ฐานกลีบด้านใน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก สั้น สีเหลือง ก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม เกสรเพศเมีย มีก้านเกสรตัวเมียสีเขียวอ่อนมี 3 อัน มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขียวอ่อนปนแดง ผลแห้ง แตกได้ รูปไข่แกมกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ผลมีนวลขาวติดตามผิว เมื่อแก่มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลดำ ผลแบบแคปซูล ปลายแหลม ผิวเรียบและแข็ง ขนาด กว้าง 0.4-0.6 เซนติเมตร ยาว 1.3-1.8 เซนติเมตร แตกออกเป็น 3 แฉก มีเมล็ดสีน้ำตาล ที่ฐานมีกลีบเลี้ยงยังคงอยู่ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือน มกราคมถึงพฤษภาคม ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 3-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 35 เมตร ผลัดใบ โคนต้นมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลม ลำต้นมีน้ำยางเหลือง กิ่งก้านเล็กเรียว กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลแดง แตกล่อนเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแกมเหลือง และมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียบ ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบโค้งเรียบ ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีชมพูอ่อนถึงแดง เรียบ เป็นมันวาว ในฤดูหนาวจะเห็นเรือนพุ่มทั้งหมดเป็นสีชมพูอ่อน ใบแก่สีเขียวสด เรียบ เกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ด้านล่างมีต่อมกระจายทั่วไปใบแก้สีแดงหรือสีแสด เส้นใบข้าง 7-10 คู่ ซึ่งจะโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.6-1.6 เซนติเมตร ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพูอ่อนถึงแดง กลีบดอกบาง มี 5 กลีบ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกตามซอกใบ ร่วงง่าย ดอกบานขยายออกราว 1.2 เซนติเมตร มีก้านเรียว เล็ก และกาบเล็กๆที่ฐานกลีบด้านใน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก สั้น สีเหลือง ก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม เกสรเพศเมีย มีก้านเกสรตัวเมียสีเขียวอ่อนมี 3 อัน มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขียวอ่อนปนแดง ผลแห้ง แตกได้ รูปไข่แกมกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ผลมีนวลขาวติดตามผิว เมื่อแก่มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลดำ ผลแบบแคปซูล ปลายแหลม ผิวเรียบและแข็ง ขนาด กว้าง 0.4-0.6 เซนติเมตร ยาว 1.3-1.8 เซนติเมตร แตกออกเป็น 3 แฉก มีเมล็ดสีน้ำตาล ที่ฐานมีกลีบเลี้ยงยังคงอยู่ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือน มกราคมถึงพฤษภาคม ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดเล็กถึงขนาดกลาง เรือนยอดเป็นพุ่มกลม โปร่ง มีความสูงได้ประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านโปร่ง ยอดอ่อนและกิ่งอ่อนมีขนขึ้นหนาแน่น เปลือกต้นด้านนอกเป็นสีน้ำตาลปนดำ แตกเป็นสะเก็ดตามยาว ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีน้ำตาลเหลือง และมียางเหนียว ๆ สีเหลืองปนแดง กิ่งขนาดเล็กตามลำต้นมักแปรสภาพเป็นหนามแข็ง ๆ พบขึ้นตามป่าผลัดใบและป่าเบญจพรรณแล้งทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเลตั้งแต่ 200-1,000 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปขอบขนานหรือรูปรีแกมรูปไข่กลับ โคนใบสอบเรียว ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-4.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 3-13 เซนติเมตร แผ่นใบบางมีขนทั้งสองด้าน หลังใบมีขนสาก ๆ ส่วนท้องใบเป็นขนนุ่มหนาแน่น ส่วนใบอ่อนเป็นสีแดงหรือสีชมพูเรื่อ ใบแก่ก่อนผลัดใบเป็นสีแดง ออกดอกเป็นช่อกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ ดอกเป็นสีชมพูอ่อนถึงสีแดง มีกลิ่นหอมอ่อน ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ กลีบดอกเกลี้ยงและยาวประมาณ 2 เท่าของกลีบเลี้ยง ขอบกลีบดอกมีขนสีขาว ส่วนกลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ มีขนขึ้นประปรายอยู่ด้านนอก ดอกมีเกสรเพศผู้มาก และแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม รังไข่มีลักษณะเป็นรูปรี ๆ เกลี้ยง ๆ ผลเป็นผลแห้ง ลักษณะของผลเป็นรูปรี ปลายแหลม มีขนาดกว้างประมาณ 0.4-0.6 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.8-2 เซนติเมตร ผลแข็งมีคราบสีนวล ๆ ตามผิว มีกลีบเลี้ยงหุ้มเกินครึ่งผล ผลเมื่อแห้งจะแตกอ้าออกได้เป็น 3 พู สีน้ำตาล ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดมีลักษณะเป็นรูปขอบขนานเล็ก ๆ และมีปีกโค้ง ๆ ออกดอกและติดผลในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 3-12 เมตร อาจสูงได้ถึง 35 เมตร ผลัดใบ โคนต้นมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลม ลำต้นมีน้ำยางเหลือง กิ่งก้านเล็กเรียว กิ่งอ่อนมีขนนุ่มทั่วไป เปลือกสีน้ำตาลแดง แตกล่อนเป็นสะเก็ด เปลือกในสีน้ำตาลแกมเหลือง และมีน้ำยางสีเหลืองปนแดงซึมออกมา ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีแกมไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน กว้าง 2.5-4.5 เซนติเมตร ยาว 3-13 เซนติเมตร โคนใบสอบเรียบ ปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบโค้งเรียบ ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ใบอ่อนสีชมพูอ่อนถึงแดง เรียบ เป็นมันวาว ในฤดูหนาวจะเห็นเรือนพุ่มทั้งหมดเป็นสีชมพูอ่อน ใบแก่สีเขียวสด เรียบ เกลี้ยง ผิวใบด้านบนเป็นมัน ด้านล่างมีต่อมกระจายทั่วไปใบแก้สีแดงหรือสีแสด เส้นใบข้าง 7-10 คู่ ซึ่งจะโค้งจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบยาว 0.6-1.6 เซนติเมตร ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบดอกสีขาวอมชมพูอ่อนถึงแดง กลีบดอกบาง มี 5 กลีบ มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกตามซอกใบ ร่วงง่าย ดอกบานขยายออกราว 1.2 เซนติเมตร มีก้านเรียว เล็ก และกาบเล็กๆที่ฐานกลีบด้านใน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก สั้น สีเหลือง ก้านเกสรเชื่อมติดกันเป็น 3 กลุ่ม เกสรเพศเมีย มีก้านเกสรตัวเมียสีเขียวอ่อนมี 3 อัน มีรังไข่อยู่เหนือวงกลีบ กลีบเลี้ยง มี 5 กลีบ สีเขียวอ่อนปนแดง ผลแห้ง แตกได้ รูปไข่แกมกระสวย กว้าง 1 เซนติเมตร ยาว 2 เซนติเมตร ผลมีนวลขาวติดตามผิว เมื่อแก่มีสีน้ำตาลหรือน้ำตาลดำ ผลแบบแคปซูล ปลายแหลม ผิวเรียบและแข็ง ขนาด กว้าง 0.4-0.6 เซนติเมตร ยาว 1.3-1.8 เซนติเมตร แตกออกเป็น 3 แฉก มีเมล็ดสีน้ำตาล ที่ฐานมีกลีบเลี้ยงยังคงอยู่ พบตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ออกดอกช่วงเดือน มกราคมถึงพฤษภาคม ยอดอ่อนใช้รับประทานเป็นผักสด
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ที่อยู่อาศัย,เชื้อเพลิง,หีบใส่ของ
-
ช่วยบำรุงโลหิต ฟอกโลหิต เปลือกต้นนำมาต้มกับน้ำกินแก้ธาตุพิการ ช่วยแก้ประดง ผักติ้วเป็นผักที่มีวิตามินเอสูง จึงมีสรรพคุณช่วยป้องกันไม่ให้เด็กเป็นตาบอดกลางคืนและโรคตาไก่ ช่วยขับลม รากและใบใช้ต้มกับน้ำกินเป็นยาแก้อาการปวดท้อง ใช้รากผสมกับรากปลาไหลและหัวแห้วหมู นำมาต้มกับน้ำดื่มวันละ 3 ครั้งเป็นยาขับปัสสาวะ แก้อาการปัสสาวะขัด แก่นและลำต้นใช้แช่กับน้ำดื่ม ช่วยแก้ปะดงเลือด หรืออาการเลือดไหลไม่หยุด ต้นและยางจากเปลือกต้น ใช้ทาแก้อาการคัน เปลือกและใบ นำมาตำผสมกับน้ำมันมะพร้าวใช้ทารักษาโรคผิวหนังบางชนิด
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
IUCN Red List
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |