ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม/ไม้ต้น
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
ไม้ยืนต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4.5-30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว แผ่นใบบาง มีขนสั้นนุ่มหรือเกลี้ยง ก้านใบยาว 2-4 มม. ช่อดอกส่วนมากออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาว 4-10 ซม. ใบประดับยาว 1-4 มม. ร่วงเร็ว ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2-4 มม. ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม หลอดกลีบดอกยาว 0.8-1.4 ซม. กลีบรูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. ก้านชูอับเรณูโคนมีขน อับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 1.8-2.5 มม. รวมยอดเกสร ผลออกเป็นคู่ ห้อยลง มีช่องอากาศกระจาย ยาว 18-34 ซม. เมล็ดเกลี้ยง กระจุกขนจำนวนมาก ยาว 2.3-4.5 มม. อื่นๆ: ทุกส่วนที่มีชีวิตจะมีน้ำยางสีขาว
-
ไม้ต้น มียางขาว ใบมีขนนุ่ม ช่อดอกเกิดที่ยอด หลอดกลีบดอกสีขาวอมเหลือง ปลายแยกเป็น 5 แฉก สีขาวอมเหลือง โคนแฉกกลีบสีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนมีนาคม-มิถุนายน
-
ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้น
-
ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้น ขนาดกลาง สูง 3-15 เมตร เปลือกสีเทาอ่อนถึงสีน้ำตาล ทุกส่วนมียางสีขาว ข้น ใบอ่อนมีขนปกคลุมมาก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปไข่ รูปรี รูปไข่แกมรูปขอบขนาน หรือรูปใบหอกกลับ ปลายใบเรียวแหลมหรือมน โคนใบแหลมหรือป้าน ขอบใบเรียบ แผ่นใบมีขนทั้งสองด้าน ดอกช่อแบบช่อกระจุก ช่อดอกห้อยลง ออกใกล้ปลายกิ่ง แต่ละช่อมีหลายดอก ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ โคนเชื่อมกันเล็กน้อย ปลายแยก กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนเชื่อมเป็นหลอด ปลายแยก กลีบเรียงซ้อนเหลื่อมกัน เวียนซ้าย เกสรเพศผู้มี 5 อัน เชื่อมกับหลอดกลีบดอก ก้านชูเกสรสั้น มีขนที่ฐาน ผลแห้ง เป็นฝักยาว รูปกระบอกแคบ ห้อยเป็นคู่โค้ง ผลแห้งแตกตามยาว ตะเข็บแนวเดียว เมล็ดมีจำนวนมาก รูปแบน สีน้ำตาล มีขนสีขาวเป็นพู่ติดอยู่ที่เมล็ด
-
ไม้ต้น มียางขาว ใบมีขนนุ่ม ช่อดอกเกิดที่ยอด หลอดกลีบดอกสีขาวอมเหลือง ปลายแยกเป็น 5 แฉก สีขาวอมเหลือง โคนแฉกกลีบสีเหลือง มีกลิ่นหอม ออกดอกเดือนมีนาคม-มิถุนายน
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงถึง 15 เมตร. มียางขาว ใบ เดี่ยว รูปรี กว้าง 2.4-11.5 ซม. ยาว 4.5-27 ซม.ดอก ออกเป็นช่อแบบกระจุกที่ซอกใบ ยาว 3.8-9 ซม. กลีบดอก สีขาว
ระบบนิเวศ :
-
พบในป่าเต็งรัง ป่าผสมผลัดใบ กึ่งโล่งแจ้ง ยกเว้นภาคใต้ตอนล่างที่ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในป่าผลัดใบ
-
กระจายพันธุ์ในทวีปแอฟริกาตะวันออก ประเทศอินเดีย ประเทศจีนถึงพม่าและภูมิภาคอินโดจีน กัมพูชา ลาว ประเทศไทย มาเลเชีย และเนปาล ในประเทศไทยพบตามป่าเต็งรังทั่วไป ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง
-
พบในป่าผลัดใบ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขานัน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
-
อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
-
อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
มุกดาหาร
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เชียงราย
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
เพชรบูรณ์
-
ระยอง, จันทบุรี
-
นครศรีธรรมราช
-
อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
-
จันทบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
สตูล
-
ตาก
-
สตูล
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
ชัยภูมิ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, แพร่
-
ลำปาง, ตาก
-
ตาก
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ตรัง, สตูล
-
กาญจนบุรี
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2003)
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
IUCN Red List
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช