ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 10-15 เมตร ไม่ผลัดใบลำต้นมักคดงอ เปลือกหนาสีเทาหรือน้ำตาลแดง ลอก เป็นแผ่บางๆ เรือนยอดเป็นพุ่มกลมหนา มีขนตามกิ่งอ่อน ใบ รูปไข่แกมรูปหอกหรือรูปไข่กลับรีๆ กว้าง 7-12 ซม. ยาว 15-30 ซม. เนื้อใบบางแผ่นใบเป็นคลื่น ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้นๆ โคนใบเรียวหรือมน ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนประปราย ส้นแขนงใบมี 30-40 คู่ ก้านใบยาว 4-5 ซม. โคนก้านใบแบนเป็นกาบหุ้มกิ่ง ดอก ใหญ่สีขาว ออกเป็นดอกเดี่ยวๆ ตามง่ามใบ ก้านดอกยาว 3-5 ซม. มีขนซาก กลีบรอง กลีบดอกเป็นแผ่นโค้งอุ้มน้ำ กลีบดอกขาว บาง รูปไข่กลับ หลุดง่าย ผล กลม ใหญ่ มีลักษณะอวบน้ำ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-15 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
- พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
- พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
- พบขึ้นตามป่าดงดิบชื้น และป่าพรุ โดยเฉพาะบริเวณใกล้ๆ ริมน้ำมีมากในภาคใต้
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำอุทยานแห่งชาติแหลมสน-ปากแม่น้ำกระบุรี-ปากคลองกะเปอร์
- บริเวณเขาดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะเภตรา
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
- ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- น่าน
- เพชรบูรณ์
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- สตูล
- แม่ฮ่องสอน
- นครศรีธรรมราช
- อุบลราชธานี
- ชุมพร
- ตรัง, สตูล
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- แม่ฮ่องสอน
- สตูล, สงขลา
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- บึงกาฬ
- เลย, เพชรบูรณ์
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- นนทบุรี
- หนองคาย
- พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซีย มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ ส้านป้าว แส้น
- มะตาด เป็นพืชในสกุลส้าน มีถิ่นกำเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย บังกลาเทศ และทางตะวันออกของศรีลังกาจรดทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน และเวียดนาม และทางตอนใต้ของไทยถึงมาเลเซีย และอินโดนีเซีย มะตาดมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ อีกดังนี้: ส้มปรุ ส้านกว้าง ส้านท่า ส้านใหญ่ ส้านป้าว แส้น
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
- สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2020)
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Dry
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ