ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร เปลือกต้นเรียบเป็นมัน สีเทาหรือสีเทาอ่อนอมขาว แตกร่อนเป็นหลุมตื้นๆ ตลอดลำต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม แผ่นใบรูปใบหอก รูปรี หรือรูปขอบขนาน ปลายใบเป็นติ่งแหลม หรือมน ก้านช่อดอกและดอกตูมมีขนสีน้ำตาลอ่อนปกคลุม ดอกย่อยสีชมพูอ่อนหรือม่วง ผลแห้งแล้วแตก รูปไข่สีน้ำตาล แตกเป็น ๕ - ๖ พู เมล็ดขนาดเล็ก แบน สีน้ำตาล มีปีก
- ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูง ๑๕ - ๓๐ เมตร เปลือกต้นเรียบเป็นมัน สีเทาหรือสีเทาอ่อนอมขาว แตกร่อนเป็นหลุมตื้นๆ ตลอดลำต้น ใบเดี่ยว เรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม แผ่นใบรูปใบหอก รูปรี หรือรูปขอบขนาน ปลายใบเป็นติ่งแหลม หรือมน ก้านช่อดอกและดอกตูมมีขนสีน้ำตาลอ่อนปกคลุม ดอกย่อยสีชมพูอ่อนหรือม่วง ผลแห้งแล้วแตก รูปไข่สีน้ำตาล แตกเป็น ๕ - ๖ พู เมล็ดขนาดเล็ก แบน สีน้ำตาล มีปีก
- เป็นพรรณไม้ยืนต้นกึ่งผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงได้ประมาณ 15-35 เมตร เรือนยอดเป็นรูปเจดีย์ต่ำๆ แตกกิ่งก้านสาขาออกรอบต้น เปลือกล้าต้นเกลี้ยงเป็นสีเทาอมเหลือง หรือสีน้ำตาลอมเทา มีรอยขรุขระเป็นหลุมตื้นๆ เกิดจากสะเก็ดแผ่นบางๆ ของเปลือกที่หลุด
ร่วงไป ดูคล้ายกับเปลือกต้นฝรั่ง แต่จะมีจุดด่างขาวๆ อยู่ตามลำต้น ทางตอนบนของล้าต้นจะค่อนข้างเรียบ ส่วนเปลือกชั้นในเป็นสีชมพูอมม่วง ซ้อนกันเป็นชั้นๆ สลับกับชั้นลายเส้นสีขาว โคนต้นเป็นพูพอนชัดเจน ตรงส่วนที่เป็นพูพอนมักจะกลวงขึ้นไปประมาณ 3-5 เมตรจากผิวดิน ตามกิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลสากๆ ขึ้นหนาแน่น เนื้อไม้มีความแข็งประมาณ 628 กก. ความถ่วงจ้าเพาะประมาณ
0.68 ความแข็งแรงประมาณ 1,219 กก./ตร.ซม. ความเหนียวประมาณ 2.89 กก.ม. ความดื้อประมาณ 112,700 กก.ตร.ซม. และมีความทนทานตามธรรมชาติ ตั้งแต่ 3-17 ปี เฉลี่ยประมาณ 9.4 ปี อาบน้ำยาไม้ได้ยากมาก (ชั้นที่ 5)
การกระจายพันธุ์ :
- พบในประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดงดิบ ป่าน้ำท่วม และตามท้องนาทั่วทุกภาค
- พบในประเทศลาว กัมพูชา เวียดนาม และมาเลเซีย ในประเทศไทยพบตามป่าเบญจพรรณชื้น ป่าดงดิบ ป่าน้ำท่วม และตามท้องนาทั่วทุกภาค
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกหงาว
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
- สุรินทร์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- สระบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- สงขลา
- จันทบุรี
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- ระยอง, จันทบุรี
- จันทบุรี
- ระยอง
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- ตาก
- ชุมพร, ระนอง
- ประจวบคีรีขันธ์
- สุพรรณบุรี
- ลำปาง, ตาก
- ตาก
- กาญจนบุรี
- นครศรีธรรมราช
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- พะเยา, น่าน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สตูล, สงขลา
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ราชบุรี
- ราชบุรี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- ชุมพร
- ลำปาง
- นนทบุรี
- สุราษฎร์ธานี
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน บางทีออกเรียงเกือบตรงข้าม ลักษณะของใบเป็นรูปไข่หรือรูปขอบขนานแกมรูปหอก เห็นตาง่ามชัดเจน ใบมีขนาดเล็กกว่าใบอินทนิลน้ำ (ขนาด 2 ใน 3 ส่วน) ปลายใบทู่ โคนใบทู่หรือกลม ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-6 เซนติเมตร และยาวประมาณ 7-14 เซนติเมตร แผ่นใบเป็นสีเขียว หลังใบเกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง ส่วนท้องใบมีขนสีน้ำตาลสากๆ ขึ้นหนาแน่น ตะแบกเป็นไม้กึ่งผลัดใบ ซึ่งจะผลัดใบหรือไม่ผลัดใบก็ได้ แต่ถ้าผลัดใบก็จะผลัดใบในช่วงประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม และจะแตกใบใหม่ในช่วงประมาณเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม
ดอก - ออกดอกเป็นช่อแบบเป็นกลุ่มย่อย ออกเป็นช่อโตๆ ตามปลายกิ่ง ตามส่วนต่างๆ จะมีขนสากๆ ขึ้นทั่วไป ดอกจะมีขนาดเล็ก เมื่อบานเต็มที่จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5-1.5 เซนติเมตร ดอกมีกลีบดอก 6 กลีบ แยกจากกันเป็นอิสระ โคนกลีบติดกับผนังด้านในของถ้วยกลีบเลี้ยง โคนกลีบดอกแคบ ส่วนปลายกลีบจะเป็นแผ่นกลมๆ สีขาวหรือสีม่วงอมชมพูอ่อนๆ ส่วนกลีบเลี้ยงมี 6 กลีบ โคน
กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกออกเป็น 6 แฉก (เรียกว่า "ถ้วยกลีบเลี้ยง") มีขนสีสนิมขึ้นปกคลุมดอกมีเกสรเพศผู้จ้านวนมาก ขนาดไล่เลี่ยกัน ออกดอกในช่วงฤดูร้อนระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม เวลาดอกบานต้นทั้งต้นจะมีอยู่ 2 สี ดูสวยงามมาก
ผล - เมื่อดอกร่วงจะติดผล ผลตะแบกจะเป็นผลแห้งที่เมื่อแก่แล้วจะแห้งแตกออกเป็น 6 แฉก ถ้วยกลีบเลี้ยงจะหุ้มโคนของผลเช่นเดียวกับอินทนิลน้ำและอินทนิลบก ผลมีขนาดเล็ก ลักษณะของผลเป็นรูปไข่ ยาวประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร ผลแก่เป็นสีน้ำตาล แข็ง เมื่อแก่จะแตก ภายในมีเมล็ดจำนวนมาก มีปีก
เมล็ดเป็นสีน้ำตาลเข้ม ผลตะแบกจะเริ่มแก่ในช่วงประมาณเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม เมล็ดจะร่วงหล่นเมื่อเปลือกผลแตกและอ้า
ขอนดอก - เป็นเนื้อไม้ที่ได้จากต้นตะแบกหรือต้นพิกุลที่มีราลง เนื้อไม้จะมีลักษณะเป็นสีน้ำตาลเข้มประขาว มองเห็นเป็นจุดสีขาวกระจายทั่วไป ภายในผุเป็นโพรงเล็กๆ และมีกลิ่นหอม รสจืด ขอนดอกอาจจะเป็นเนื้อไม้ที่ได้จากต้นตะแบกหรือต้นพิกุลก็ได้ที่มีอายุมากๆ ยอดหักเป็นโพรง มักมีเชื้อราเข้าไปเจริญในเนื้อไม้และไม้ยืนต้นตาย เนื้อไม้จึงเหมือนไม้ผุ
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ