ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
- ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
- ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
- ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดที่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้ำตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี
- ต้นสูง 4- 10 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางลำต้น 7.4 – 11.8 มิลลิเมตร รูปร่างใบขอบขนาน กว้าง 4.0 – 5.2 เซนติเมตร ยาว 8.2 – 12.1 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0.4 – 0.6 เซนติเมตร ช่อดอกมี 4 – 5 ดอก ยาว 6.0 – 6.5 เซ็นติเมตร ดอกย่อยยาว 1.36 – 2.0 เซนติเมตร
- ไม้เถาเลื้อยพันมีน้ำยางขาว สูง 5-10 ม. ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ม. ยาว 6.5-8.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
- พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
- พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
- พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเทศไทยพบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงใกล้ระดับน้ำทะเล จนถึง 800 เมตร
- พบในพื้นที่สวนป่า ไม้เบญจพรรณ ป่าพลวง ดินร่วนปนทราย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- หมู่เกาะอ่างทอง
- ภูผาเทิบ
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- พะเยา,น่าน
- สุราษฏร์ธานี
- มุกดาหาร
- อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 130 เมตร
- ลำปาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้เลื้อย/ไม้เถา
- ไม้เลื้อย/ไม้เถา
- ไม้เถาเลื้อยพัน มีน้ำยางสีขาว ลำต้นสีน้ำตาลเข้ม ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามมี 8 – 13 คู่ ขอบใบเรียบ (entire) ใบเป็นมัน หน้าใบหลังใบไม่มีขน ยอดอ่อนสีน้ำตาลแดง ใบแก่สีเขียวเข้ม ออกดอกที่ยอดหรือปลายกิ่ง กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปกรวย สีขาว ออกดอกช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
- ไม้ยืนต้น
ถิ่นกำเนิด :
- ไทย
การขยายพันธุ์ :
- ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ