ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 27 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูป ไข่ กว้าง 3-19 ซม. ยาว 7-37 ซม. โคนใบมนหรือแหลม ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบหรือจักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนสีขาวหนาแน่น ก้านใบยาว 1-11 ซม. ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ แยกเพศ ดอกเพศผู้ มี 3 ดอกต่อ หนึ่งกระจุก กลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปไข่ ยาว 4-6 มม. กลีบดอก 4-5 กลีบ สีเขียว จาง ยาว 1.7-2.8 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูป ไข่ ยาว 2.3-4 มม. ไม่มีกลีบดอก ผล เป็นผลแห้งแตก มี 3 พู มีขนสีน้ำตาลคลุม เมล็ด กลมรี สีดำ ยาว 12-20 มม.
-
ไม้ต้น ขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 27 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปรีหรือรูป ไข่ กว้าง 3-19 ซม. ยาว 7-37 ซม. โคนใบมนหรือแหลม ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบหรือจักเป็นฟันเลื่อย ท้องใบมีขนสีขาวหนาแน่น ก้านใบยาว 1-11 ซม. ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ แยกเพศ ดอกเพศผู้ มี 3 ดอกต่อ หนึ่งกระจุก กลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปไข่ ยาว 4-6 มม. กลีบดอก 4-5 กลีบ สีเขียว จาง ยาว 1.7-2.8 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูป ไข่ ยาว 2.3-4 มม. ไม่มีกลีบดอก ผล เป็นผลแห้งแตก มี 3 พู มีขนสีน้ำตาลคลุม เมล็ด กลมรี สีดำ ยาว 12-20 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายตั้งแต่อินเดีย เมียนม่าห์ อินโดจีน จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบตามป่าผลัดใบ และป่าดิบ จนถึงระดับความสูง 800 เมตร
-
พบกระจายตั้งแต่อินเดีย เมียนม่าห์ อินโดจีน จนถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทย พบตามป่าผลัดใบ และป่าดิบ จนถึงระดับความสูง 800 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง