ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงถึง 30 ม. ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-24 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่กิ่งใต้บริเวณที่มีใบ ดอกสีแดงอมชมพู ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 12-15 ซม. ตัวผลรูปไข่ หรือทรงรี ออกดอกเดือน ก.พ.-มี.ค.
- ไม้ต้น สูงถึง 30 ม. ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-24 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่กิ่งใต้บริเวณที่มีใบ ดอกสีแดงอมชมพู ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 12-15 ซม. ตัวผลรูปไข่ หรือทรงรี ออกดอกเดือน ก.พ.-มี.ค.
- ไม้ต้น สูงถึง 30 ม. ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-24 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่กิ่งใต้บริเวณที่มีใบ ดอกสีแดงอมชมพู ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 12-15 ซม. ตัวผลรูปไข่ หรือทรงรี ออกดอกเดือน ก.พ.-มี.ค.
- ไม้ต้น สูงถึง 30 ม. ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่ หรือรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-24 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกที่กิ่งใต้บริเวณที่มีใบ ดอกสีแดงอมชมพู ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 12-15 ซม. ตัวผลรูปไข่ หรือทรงรี ออกดอกเดือน ก.พ.-มี.ค.
การกระจายพันธุ์ :
- -
- -
- -
- -
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- เชียงใหม่
- เพชรบูรณ์
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ชัยภูมิ
- จันทบุรี
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- นครศรีธรรมราช
- กำแพงเพชร
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- พังงา
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุบลราชธานี
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- บึงกาฬ
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ชุมพร
- ศรีสะเกษ
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 40 ม. ลำต้นตรง เรือนยอดเป็นพุ่ม ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมขอบขนาน โคนมน ปลายแหลม ขอบใบหลักเป็นคลื่นห่างๆกว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-24 ซม. มีเส้นใบ 16-19 คู่ ผิวใบเกลี้ยงมันทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 3-3.5 ซม. ดอก สีขาวแกมชมพู ช่อโปร่ง มีน้อยดอก กลีบรองดอกรูปถ้วย กลีบดอกโคนเชื่อมต่อกันเป็นหลอดรูปยาวรี ตอนปลายมี 5 กลีบ เกสรผู้มี 20-25 อัน ผล รูปรีผิวเกลี้ยง ยาว 2-5 ซม. มีกลีบสั้นรูปหูหนู 3 กลีบ มีปีกยาว 2 ปีก สีแดง รูปขอบขนาน ปลายสอบกว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 12-14 ซม.
- ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงได้ถึง 40 ม. ลำต้นตรง เรือนยอดเป็นพุ่ม ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่แกมขอบขนาน โคนมน ปลายแหลม ขอบใบหลักเป็นคลื่นห่างๆกว้าง 9-12 ซม. ยาว 17-24 ซม. มีเส้นใบ 16-19 คู่ ผิวใบเกลี้ยงมันทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 3-3.5 ซม. ดอก สีขาวแกมชมพู ช่อโปร่ง มีน้อยดอก กลีบรองดอกรูปถ้วย กลีบดอกโคนเชื่อมต่อกันเป็นหลอดรูปยาวรี ตอนปลายมี 5 กลีบ เกสรผู้มี 20-25 อัน ผล รูปรีผิวเกลี้ยง ยาว 2-5 ซม. มีกลีบสั้นรูปหูหนู 3 กลีบ มีปีกยาว 2 ปีก สีแดง รูปขอบขนาน ปลายสอบกว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 12-14 ซม.
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
- 1. การเพาะเมล็ด