ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
- ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
- ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
- ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาว 5 ม. ใบ ใบเดี่ยวรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-7 ซ.ม. ยาว 6-12 ซ.ม. ปลายใบเว้าตื้นกึ่งเรียว แหลมถึงมีติ่งหนาม โคนใบกลมถึงรูปหัว ใจตื้น ผิวเกลี้ยง ทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-3.5 ซ.ม. หูใบรูปเคียวดอก ดอกช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง รูปทรงกระบอกแคบ ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีแดง ผล เป็นฝักรูปขอบขนาน ปลายแหลม เลือกแข็ง เมล็ดรูปขอบขนาน 8-9 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
- N Thailand: Chiang Mai, Lampang, Tak, Sukhothai, Kamphaeng Phet
- เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
- เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
- เป็นพืชเฉพาะถิ่นของประเทศไทย พบทางภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง กำแพงเพชร นครสวรรค์ และสุโขทัย พบตามที่ราบลุ่ม ป่าเต็งรัง ผลัดใบ และป่าหญ้า หากขึ้นในบริเวณที่ถูกเผาทุกปีจะขึ้นเป็นพุ่มราบกับดิน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้เถา, ไม้เลื้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- Endemic
- สุราษฎร์ธานี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- Mixed deciduous forest and open cultivated areas, to 500 m.
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
สถานภาพการคุกคาม