ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม ลำต้นทอดเลื้อยได้ สูง 2-4 ม. กิ่งแก่กลวง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยประมาณ 7 ใบ รูปรีแกมรูปหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบมนปลายใบแหลมเป็นติ่ง ขอบใบจัก ใบคู่ล่างมักหยักลึก 2-3 แฉก ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อใหญ่ ขนาด 20-45 ซม. กลีบรองดอกเป็นหลอด ยาว 1 มม. กลีบดอกส่วนโคนสเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ขนาดดอก 4-4.5 มม. เกสรผู้ 5 อันสีเหลือง ยอดเกสรเมียแยกเป็น 5 แฉก ผลเป็นผลสดรูปกลม ผิวมัน สีม่วงเข้มเกือบดำ ขนาด 4-5 มม. ภายในมี 4-5 เมล็ด รูปรีแกมขอบขนาน ขนาด 2.5 มม.
-
ไม้พุ่ม ลำต้นทอดเลื้อยได้ สูง 2-4 ม. กิ่งแก่กลวง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยประมาณ 7 ใบ รูปรีแกมรูปหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 5-15 ซม. โคนใบมนปลายใบแหลมเป็นติ่ง ขอบใบจัก ใบคู่ล่างมักหยักลึก 2-3 แฉก ดอกสีขาวมีกลิ่นหอม ออกเป็นช่อใหญ่ ขนาด 20-45 ซม. กลีบรองดอกเป็นหลอด ยาว 1 มม. กลีบดอกส่วนโคนสเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 แฉก ขนาดดอก 4-4.5 มม. เกสรผู้ 5 อันสีเหลือง ยอดเกสรเมียแยกเป็น 5 แฉก ผลเป็นผลสดรูปกลม ผิวมัน สีม่วงเข้มเกือบดำ ขนาด 4-5 มม. ภายในมี 4-5 เมล็ด รูปรีแกมขอบขนาน ขนาด 2.5 มม.
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดทางทวีปอเมริกาเหนือ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบที่ระดับความสูง 200-1,300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
-
มีถิ่นกำเนิดทางทวีปอเมริกาเหนือ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบที่ระดับความสูง 200-1,300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมิถุนายน-สิงหาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ที่มาของข้อมูล