ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูงได้ถึง 20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างกลม ผลัดใบเมื่อถึงหน้าร้อน ส่วนปลายกิ่งและยอดมีขนยาว ๆ ปกคลุม เปลือกสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นร่องสะเก็ดตามยาว ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับกันอยู่ตอนปลาย ๆ กิ่ง รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ โคนใบสอบ ปลายใบมน ด้านบนใบมีขนสีน้ำตาลปนเทาประปราย ด้านท้องใบ มีขนหนาแน่นแต่จะร่วงหลุดไปเมื่อใบแก่เต็มที่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบกว้าง 5-12 ซม. ยาว 12-36 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 2 ซม. ดอก ออกเป็นช่อกระจายสีเหลืองนวล ตอนปลายกิ่งมีขนแน่น กลีบรองกลีบดอกและกลีบดอกมี 5 กลีบ รูปหอก ด้านหลังกลีบมีขน ดอกกว้างประมาณ 1 ซม. เกสรผู้มีประมาณ 30 อัน รังไข่กลมมีก้าน ผล กลมแข็ง มีส่วนของกลีบดอกที่ขยายเป็นกลีบสีแดงรองรับ รูปขอบขนาน 5 กลีบ ระหว่างโคนกลีบกับผล มีก้านเชื่อมยาว 1.5 ซม.
- บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร กิ่งอ่อนปกคลุมด้วยขนสีขาว ใบ:ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนานแกมรูปรี ปลายแหลมหรือกลม ฐานมนหรือรูปลิ่ม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายหนัง ผิวเกลี้ยง เส้นแขนงใบข้างละ 15-25 เส้น นูนชัดเจนทางด้านบน ขนาด 3.5-12 x 8-20 เซนติเมตรดอก:ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง มีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลปกคลุม ดอกสีขาวขาวแกมชมพู หรือชมพูแกมแดงในดอกแก่ กลีบเลี้ยงรูปร่างคล้ายหมวก ผิวด้านในมีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน มีขนอุยหนาแน่น และจะกลายเป็นปีกเมื่อติดผล เกสรเพศผู้ 30 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบผล:ผลสดเมล็ดเดียวแข็ง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เซนติเมตร ปีกที่โคนก้านผลสีแดงเปลือก:อื่นๆ:ออกดอกและเป็นผลระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์

ไม้ต้นสูงถึง 20 เมตร กิ่งอ่อนปกคลุมด้วยขนสีขาว
ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนานแกมรูปรี ปลายแหลมหรือกลม ฐานมนหรือรูปลิ่ม ขอบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายหนัง ผิวเกลี้ยง เส้นแขนงใบข้างละ 15-25 เส้น นูนชัดเจนทางด้านบน ขนาด 3.5-12 x 8-20 เซนติเมตร
ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง มีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลปกคลุม ดอกสีขาวขาวแกมชมพู หรือชมพูแกมแดงในดอกแก่ กลีบเลี้ยงรูปร่างคล้ายหมวก ผิวด้านในมีขน กลีบดอกรูปขอบขนาน มีขนอุยหนาแน่น และจะกลายเป็นปีกเมื่อติดผล เกสรเพศผู้ 30 อัน รังไข่อยู่เหนือวงกลีบ
ผลสดเมล็ดเดียวแข็ง ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-3 เซนติเมตร ปีกที่โคนก้านผลสีแดง

ออกดอกและเป็นผลระหว่างเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
- ไม้ต้นขนาดกลาง สูงได้ถึง 20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างกลม ผลัดใบเมื่อถึงหน้าร้อน ส่วนปลายกิ่งและยอดมีขนยาว ๆ ปกคลุม เปลือกสีน้ำตาลปนเทา แตกเป็นร่องสะเก็ดตามยาว ใบ เป็นใบเดี่ยวออกสลับกันอยู่ตอนปลาย ๆ กิ่ง รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ โคนใบสอบ ปลายใบมน ด้านบนใบมีขนสีน้ำตาลปนเทาประปราย ด้านท้องใบ มีขนหนาแน่นแต่จะร่วงหลุดไปเมื่อใบแก่เต็มที่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบกว้าง 5-12 ซม. ยาว 12-36 ซม. ก้านใบยาวประมาณ 2 ซม. ดอก ออกเป็นช่อกระจายสีเหลืองนวล ตอนปลายกิ่งมีขนแน่น กลีบรองกลีบดอกและกลีบดอกมี 5 กลีบ รูปหอก ด้านหลังกลีบมีขน ดอกกว้างประมาณ 1 ซม. เกสรผู้มีประมาณ 30 อัน รังไข่กลมมีก้าน ผล กลมแข็ง มีส่วนของกลีบดอกที่ขยายเป็นกลีบสีแดงรองรับ รูปขอบขนาน 5 กลีบ ระหว่างโคนกลีบกับผล มีก้านเชื่อมยาว 1.5 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา
- พบขึ้นกระจายทั่วไปในป่าผลัดใบ ทุ่งหญ้าโล่ง เขาหินปูน ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-1,000 เมตร สำหรับการกระจายพันธุ์พบได้ที่อินเดีย พม่า ไทย ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย
- พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบเขา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขากระยาง ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ยวมฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงภู ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่แจ่ม ป่าสงวนแห่งชาติป่ากุดจับ ป่าคำหัวแฮด ป่าหนองแปน ป่าสงวนแห่งชาติป่าดงมะอี่ ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่จางฝั่งซ้าย ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
- อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
- ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
- ผาแต้ม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาประทับช้าง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ตากสินมหาราช
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
- อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
- อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- แพร่,น่าน
- พะเยา,น่าน
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- ราชบุรี
- อุตรดิตถ์
- ลำปาง
- ลำปาง
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงราย
- เชียงราย
- กาญจนบุรี
- กำแพงเพชร, ตาก
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ตาก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ชัยภูมิ
- อุดรธานี, เลย, หนองคาย
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ขอนแก่น, ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- ลำพูน, เชียงใหม่
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- กำแพงเพชร
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
- ต้น : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างกลม ทุกส่วนของต้น มีน้ำยางใส
เปลือกต้น : สีน้ำตาลปนเทาแตกเป็นร่องยาว หลุดลอกออกเป็นชิ้นเหลี่ยมบางๆ เปลือกชั้นในสีชมพูอ่อนมียางใส เมื่อถูกอากาศจะเข้มขึ้นจนเป็นสีดำ กิ่งอ่อนและยอดปกคลุมด้วยขนยาวสีขาว กิ่งแก่เกลี้ยง หรือมีขนสั้นๆ
ใบ : เป็นใบเดี่ยวออกสลับกันอยู่ตอนปลาย ๆ กิ่ง รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ โคนใบสอบ ปลายใบมน ใบอ่อนมีขนปกคลุมหนาแน่นทั้ง 2 ด้าน ด้านบนใบมีขนสีน้ำตาลปนเทาประปราย ด้านท้องใบ มีขนหนาแน่นแต่จะร่วงหลุดไปเมื่อใบแก่เต็มที่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบกว้าง 5-12 ซม. ยาว 12-36 ซม. ก้านใบยาว 1-3 ซม. โคนก้านที่ติดกับกิ่งพองป่อง เส้นแขนงใบ ข้างละ 15-25 เส้น นูนชัดเจนทางด้านบน เป็นแบบร่างแหชัดเจนทางด้านล่าง มักพบแมลงไข่ไว้ตามใบและจะเกิดเป็นตุ่มกลมๆตามใบ
ดอก : สมบูรณ์ ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง หรือใกล้ปลายกิ่งและซอกใบ มักทิ้งใบก่อนออกดอก ดอกเริ่มบานจากสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีชมพูและแดงสด ดอกออกเป็นกลุ่มช่อหนาแน่นในซอกใบบนๆ ช่อดอกยาวได้ถึง 35 ซม. ก้านดอกยาว 1-1.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม สีน้ำตาลปกคลุม ดอกย่อยจำนวนมาก ดอกตูม รูปขอบขนาน กว้างประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ 5 มม. มีขนประปราย ที่ปลายมีขนเป็นกระจุก กลีบดอกสีขาวมีแถบสีเหลืองแกมเขียวตรงกลาง กลีบดอก 5-6 กลีบ แผ่กว้าง ปลายแคบแหลม ด้านหลังกลีบมีขน กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ เชื่อมติดกัน ปลายแยก 5 แฉก ในดอกแก่กลีบเลี้ยงรูปร่างคล้ายหมวก กว้าง 0.7-1.8 มม. ยาว 3-7.5 มม. สีแดง มี 5 กลีบ ผิวด้านในมีขนสั้นนุ่ม กลีบดอก รูปขอบขนาน กว้าง 1-2 ซม. ยาว 6-7 ซม. ปลายแหลมหรือมน มีขนอุยหนาแน่น กลีบดอกขยายขนาดขึ้น และกลายเป็นปีกเมื่อติดผล จานฐานดอกเกลี้ยง เกสรเพศผู้จำนวนมาก ยาวประมาณ 1 ซม. รังไข่กลม ก้านเกสรตัวเมีย 1 อัน ติดด้านข้างของรังไข่
ผล : แบบ drupe กลม แข็ง ขนาด 0.8-1.2 ซม. มีส่วนของกลีบดอกที่ขยายเป็นกลีบสีแดงรองรับ รูปขอบขนาน 5 ปีก ระหว่างโคนปีกกับผลมีก้านเชื่อมยาว 1.5 ซม. ปีกยาว 5-10 ซม. มีเส้นปีกชัดเจน
การขยายพันธุ์ :
- พบกระจายทั่วไปในป่าผลัดใบ ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ทุ่งหญ้าโล่ง เขาหินปูน ชอบที่โล่งแจ้ง ตามแนวสันเขา ความสูงจากระดับน้ำทะเล 100-1,000 เมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,น้ำมันยางใช้ทำน้ำมันเคลือบเงา รากใช้เป็นยาแก้โรคผิวหนัง พยาธิลำไส้ ยางเป็นยาถ่าย
ที่มาของข้อมูล
พิพิธภัณฑ์
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ
NSM Nong Bua Lam Phu
Barcode ชื่อพิพิธภัณฑ์ จังหวัด ลักษณะ