ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดค่อนข้างกลมหรือรูปไข่ ลำต้นตรง ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงตรงกันข้ามหรือเยื้องเล็กน้อยมีใบย่อย 6-9 คู่ ใบรูป ไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-6 ซม. ยาว 6-15 ซม. ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบเบี้ยว หลังใบเกลี้ยงหรือค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนนุ่ม หลุดร่วงเมื่อใบแก่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น เส้นแขนงใบข้างละ 5-15 เส้น เส้นร่างแหเห็นชัด ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่งและซอกใบ ขนาดช่อกว้าง 6-8 ซม. ยาว 15-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบปลายกลีบม้วนออกด้านนอก เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนก้านเกสรอยู่ติดกับฐานดอก รังไข่รูปป้อม ๆ ภายในมี 5 ช่อง หลอดท่อรังไข่มี 5 อัน ดอกสีขาวมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลสด ทรงกลมสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 4-5 ซม. เมล็ดแข็งมี 5 พู มีรอยบุ๋ม 5 รอยคล้ายรูปพระ 5 องค์
- ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดค่อนข้างกลมหรือรูปไข่ ลำต้นตรง ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงตรงกันข้ามหรือเยื้องเล็กน้อยมีใบย่อย 6-9 คู่ ใบรูป ไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-6 ซม. ยาว 6-15 ซม. ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบเบี้ยว หลังใบเกลี้ยงหรือค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนนุ่ม หลุดร่วงเมื่อใบแก่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น เส้นแขนงใบข้างละ 5-15 เส้น เส้นร่างแหเห็นชัด ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่งและซอกใบ ขนาดช่อกว้าง 6-8 ซม. ยาว 15-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบปลายกลีบม้วนออกด้านนอก เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนก้านเกสรอยู่ติดกับฐานดอก รังไข่รูปป้อม ๆ ภายในมี 5 ช่อง หลอดท่อรังไข่มี 5 อัน ดอกสีขาวมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลสด ทรงกลมสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 4-5 ซม. เมล็ดแข็งมี 5 พู มีรอยบุ๋ม 5 รอยคล้ายรูปพระ 5 องค์
- ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดค่อนข้างกลมหรือรูปไข่ ลำต้นตรง ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงตรงกันข้ามหรือเยื้องเล็กน้อยมีใบย่อย 6-9 คู่ ใบรูป ไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-6 ซม. ยาว 6-15 ซม. ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบเบี้ยว หลังใบเกลี้ยงหรือค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนนุ่ม หลุดร่วงเมื่อใบแก่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น เส้นแขนงใบข้างละ 5-15 เส้น เส้นร่างแหเห็นชัด ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่งและซอกใบ ขนาดช่อกว้าง 6-8 ซม. ยาว 15-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบปลายกลีบม้วนออกด้านนอก เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนก้านเกสรอยู่ติดกับฐานดอก รังไข่รูปป้อม ๆ ภายในมี 5 ช่อง หลอดท่อรังไข่มี 5 อัน ดอกสีขาวมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลสด ทรงกลมสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 4-5 ซม. เมล็ดแข็งมี 5 พู มีรอยบุ๋ม 5 รอยคล้ายรูปพระ 5 องค์
- ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ผลัดใบ เรือนยอดค่อนข้างกลมหรือรูปไข่ ลำต้นตรง ใบประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงตรงกันข้ามหรือเยื้องเล็กน้อยมีใบย่อย 6-9 คู่ ใบรูป ไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-6 ซม. ยาว 6-15 ซม. ปลายใบเป็นติ่งแหลม โคนใบเบี้ยว หลังใบเกลี้ยงหรือค่อนข้างเกลี้ยง ท้องใบมีขนนุ่ม หลุดร่วงเมื่อใบแก่ ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่น เส้นแขนงใบข้างละ 5-15 เส้น เส้นร่างแหเห็นชัด ดอกออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนงตามปลายกิ่งและซอกใบ ขนาดช่อกว้าง 6-8 ซม. ยาว 15-25 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบปลายกลีบม้วนออกด้านนอก เกสรเพศผู้ 10 อัน โคนก้านเกสรอยู่ติดกับฐานดอก รังไข่รูปป้อม ๆ ภายในมี 5 ช่อง หลอดท่อรังไข่มี 5 อัน ดอกสีขาวมีกลิ่นหอมอ่อน ๆ ผลสด ทรงกลมสีเขียว เมื่อแก่เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางผล 4-5 ซม. เมล็ดแข็งมี 5 พู มีรอยบุ๋ม 5 รอยคล้ายรูปพระ 5 องค์
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 เมตร มีขนสั้นนุ่มตามยอดอ่อน ใบ ประกอบแบบขนนก ปลายคี่ เรียงเวียน ใบย่อย 9-19 คู่รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน กว้าง 2-7 เซนติเมตร ยาว 4- 15 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเบี้ยว ก้านใบมีขนละเอียด ดอก แบบช่อแยกแขนง ออกที่ซอกใบ มี 1-3 ช่อ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมปลายมน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว รูปใบหอกหรือรูปแถบ เกสรเพศผู้ 10 เกสร ติดระหว่างกลีบดอก รังไข่เหนือวงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผล แบบผลผนังชั้นในแข็ง สุกสีเหลือง ผนังผลชั้นในมีรอยเป็นแอ่งบุ๋ม 5 รอยเท่าจํานวนเมล็ด เมล็ดรูปรี
การขยายพันธุ์ :
- ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์
- ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์
- ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์
- ใช้เมล็ดในการขยายพันธุ์
- เพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- สงขลา
- ชุมพร
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- ชลบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- ชุมพร, ระนอง
- ลพบุรี
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สตูล, สงขลา
- สตูล, สงขลา
- พังงา
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- ชัยภูมิ
- ตาก
- ราชบุรี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- กาญจนบุรี
- ชุมพร
- ชุมพร
- ชุมพร
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
- นนทบุรี
- ชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพลิ้ว
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ สันกาลาคีรี
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
- ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร
- ออกดอกเดือนมิถุนายน - ตุลาคม ติดผลเดือนสิงหาคม - ธันวาคม
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน สุมาตรา และชวา ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ขึ้นตามป่าดิบแล้งตามสันเขาหรือริมลําธาร ความสูงตั้งแต่ระดับน้ำทะเลลึกประมาณ 1,200 เมตร
ข้อมูลภูมิปัญญา
- “ลูกพระเจ้าห้าพระองค์” สายมูก็ได้ สายสมุนไพรก็ดี :: ในประเทศไทยการนับถือสิ่งศักสิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองนั้นมีมาตั้งแต่อดีตจนไปถึงปัจจุบัน เช่น พระพุทธรูปสักการะบูชาองค์พระ หรือเทพเทวา หรือการนำธรรมชาติมาเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบพิธีทางศาสนาหรือเป็นส่วนหนึ่งในความเชื่อ ต้นพระเจ้าห้าพระองค์ยังเป็นส่วนหนึ่งของผลผลิตทางธรรมชาติที่ถูกนำมาทำเป็นเครื่องรางมงคล เนื่องจากรูปร่างของผลแก่ที่ประหลาด มีรอยบุ๋มรอบผล 5 รอย แต่ละรอยนั้นรูปร่างคล้ายใบหน้าคน ลักษณะพิเศษนี้จึงเป็นที่มาของชื่ออีกด้วยต้นพระเจ้าห้าพระองค์ (Dracontomelon dao (Blanco) Merr. & Rolfe)อยู่ในวงศ์ ANACARDIACEAEชื่ออื่น ๆ : กะโค (มลายู ปัตตานี), โก (กะเหรี่ยง กำแพงเพชร แม่ฮ่องสอน), ซังกวน (