ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาถึงน้ำตาลเข้ม แตกเป็นสะเก็ด เรือนยอดแผ่ค่อนข้างกลม ใบเป็นใบเดี่ยว ขนาดเล็ก รูปไข่ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบมนกว้าง ปลายใบแหลม หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสีน้ำตาลอ่อน โดยเฉพาะตามเส้นแขนงใบ ซึ่งมี 10-14 คู่ ใบแก่ออกสีน้ำตาลแดง ดอกสีครีม ออกเป็นช่อสั้นๆ กลีบรองดอกมีสันตามยาว 5 สัน ปลายมี 5 แฉก ยาว 2 แฉก สั้น 3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ปลายบิดเวียนตามกัน มีเกสรผู้ 29-30 อัน อยู่ในหลอดดอก ผลกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.8-2 ซม. มีสันคมยาวตลอดตัวผล 5 สัน คลุมด้วยขนสีเทาหรือสีทอง ปีกคู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 9-12 ซม. มีเส้นปีก 5 เส้น
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาถึงน้ำตาลเข้ม แตกเป็นสะเก็ด เรือนยอดแผ่ค่อนข้างกลม ใบเป็นใบเดี่ยว ขนาดเล็ก รูปไข่ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบมนกว้าง ปลายใบแหลม หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสีน้ำตาลอ่อน โดยเฉพาะตามเส้นแขนงใบ ซึ่งมี 10-14 คู่ ใบแก่ออกสีน้ำตาลแดง ดอกสีครีม ออกเป็นช่อสั้นๆ กลีบรองดอกมีสันตามยาว 5 สัน ปลายมี 5 แฉก ยาว 2 แฉก สั้น 3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ปลายบิดเวียนตามกัน มีเกสรผู้ 29-30 อัน อยู่ในหลอดดอก ผลกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.8-2 ซม. มีสันคมยาวตลอดตัวผล 5 สัน คลุมด้วยขนสีเทาหรือสีทอง ปีกคู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 9-12 ซม. มีเส้นปีก 5 เส้น
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาถึงน้ำตาลเข้ม แตกเป็นสะเก็ด เรือนยอดแผ่ค่อนข้างกลม ใบเป็นใบเดี่ยว ขนาดเล็ก รูปไข่ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบมนกว้าง ปลายใบแหลม หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสีน้ำตาลอ่อน โดยเฉพาะตามเส้นแขนงใบ ซึ่งมี 10-14 คู่ ใบแก่ออกสีน้ำตาลแดง ดอกสีครีม ออกเป็นช่อสั้นๆ กลีบรองดอกมีสันตามยาว 5 สัน ปลายมี 5 แฉก ยาว 2 แฉก สั้น 3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ปลายบิดเวียนตามกัน มีเกสรผู้ 29-30 อัน อยู่ในหลอดดอก ผลกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.8-2 ซม. มีสันคมยาวตลอดตัวผล 5 สัน คลุมด้วยขนสีเทาหรือสีทอง ปีกคู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 9-12 ซม. มีเส้นปีก 5 เส้น
-
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 20-40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาสีน้ำตาลปนเทาถึงน้ำตาลเข้ม แตกเป็นสะเก็ด เรือนยอดแผ่ค่อนข้างกลม ใบเป็นใบเดี่ยว ขนาดเล็ก รูปไข่ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 8-14 ซม. โคนใบมนกว้าง ปลายใบแหลม หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนสีน้ำตาลอ่อน โดยเฉพาะตามเส้นแขนงใบ ซึ่งมี 10-14 คู่ ใบแก่ออกสีน้ำตาลแดง ดอกสีครีม ออกเป็นช่อสั้นๆ กลีบรองดอกมีสันตามยาว 5 สัน ปลายมี 5 แฉก ยาว 2 แฉก สั้น 3 แฉก กลีบดอก 5 กลีบ ปลายบิดเวียนตามกัน มีเกสรผู้ 29-30 อัน อยู่ในหลอดดอก ผลกลม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1.8-2 ซม. มีสันคมยาวตลอดตัวผล 5 สัน คลุมด้วยขนสีเทาหรือสีทอง ปีกคู่ รูปขอบขนาน กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 9-12 ซม. มีเส้นปีก 5 เส้น
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่บังกลาเทศ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ตามป่าดิบเขา ที่ความสูงตั้งแต่ 400-1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-กรกฎาคม และติดผลเดือนมกราคม-กันยายน
-
พบตั้งแต่บังกลาเทศ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ตามป่าดิบเขา ที่ความสูงตั้งแต่ 400-1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-กรกฎาคม และติดผลเดือนมกราคม-กันยายน
-
พบตั้งแต่บังกลาเทศ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ตามป่าดิบเขา ที่ความสูงตั้งแต่ 400-1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-กรกฎาคม และติดผลเดือนมกราคม-กันยายน
-
พบตั้งแต่บังกลาเทศ พม่า ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในประเทศไทยพบได้ทุกภาค ตามป่าดิบเขา ที่ความสูงตั้งแต่ 400-1,100 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-กรกฎาคม และติดผลเดือนมกราคม-กันยายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่,น่าน
-
สุราษฎร์ธานี
-
เพชรบูรณ์
-
จันทบุรี
-
พัทลุง
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครศรีธรรมราช
-
สระแก้ว
-
ชุมพร
-
นครศรีธรรมราช
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สตูล, สงขลา
-
สตูล, สงขลา
-
ระนอง, ชุมพร
-
ระนอง, ชุมพร
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
บึงกาฬ
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
หนองคาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูเขียว-ทุ่งกะมัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาท่าเพชร
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาปู่-เขาย่า
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนงาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |