ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงถึง 15 ม. ใบเดี่ยว เรียนแบบเวียน รูปค่อนข้างกลม หรือรูปหัวใจกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-35 ซม. ขอบใบเรียบหรือเว้าเป็นพูตื้น ใบอ่อนมีขนรูปดาวหนาแน่น ดอกยาว 5-7.5 ซม. สีเหลืองสดมีแต้มสีม่วงตรงกลาง กลีบเลี้ยง 2-2.5 ซม. มีหนามสั้นด้านนอก กลีบดอกคล้ายรูปกรวย ผลแห้งแตกเป็น 10 พู ออกดอก เดือน มี.ค.-พ.ค.
- ไม้ต้น สูงถึง 15 ม. ใบเดี่ยว เรียนแบบเวียน รูปค่อนข้างกลม หรือรูปหัวใจกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-35 ซม. ขอบใบเรียบหรือเว้าเป็นพูตื้น ใบอ่อนมีขนรูปดาวหนาแน่น ดอกยาว 5-7.5 ซม. สีเหลืองสดมีแต้มสีม่วงตรงกลาง กลีบเลี้ยง 2-2.5 ซม. มีหนามสั้นด้านนอก กลีบดอกคล้ายรูปกรวย ผลแห้งแตกเป็น 10 พู ออกดอก เดือน มี.ค.-พ.ค.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- พังงา
- จันทบุรี
- นครศรีธรรมราช
- นครศรีธรรมราช
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- พะเยา
- สตูล
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- นครศรีธรรมราช
- ยะลา
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- กาญจนบุรี
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- จันทบุรี
- จันทบุรี
- สุราษฎร์ธานี, ระนอง
- สุราษฎร์ธานี
- สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- ชัยภูมิ
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ราชบุรี
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
- ชุมพร
- เชียงใหม่
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- ชุมพร
- ชุมพร
- ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขานัน
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ตะรุเตา
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกโยง
- อุทยานแห่งชาติ บางลาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองยัน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนกระจุกยาวหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ริ้วประดับ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ขนยาวได้ถึง 8 มม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 6-10 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-36 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมยาว โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น มีต่อมตามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 15-30 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม. ใบประดับคล้ายหูใบ มี 1 คู่ โคนเชื่อมติดกัน ริ้วประดับมี 10-12 อัน โคนเชื่อมติดกัน รูปใบหอก ยาวได้ถึง 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ ริ้วประดับ ดอกรูประฆัง สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีน้ำตาลอมม่วง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4.5-6 ซม. หลอดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียมีขนหนาแน่น ผลรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น
พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา บอรฺ์เนียว และฟิลิปปินส์ (ปาละวัน) ในไทยพบแทบทุกภาค ส่วนมากพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา หรือชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาสมาน เปลือกใช้ทำเชือกและกระดาษ บางครั้งเรียกทางการค้าในการปลูกสวนป่าว่า พญาคชราช เนื่องจากเนื้อไม้มีลายคล้ายไม้สัก แต่ไม่ทนทาน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนกระจุกยาวหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ริ้วประดับ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ขนยาวได้ถึง 8 มม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 6-10 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-36 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมยาว โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น มีต่อมตามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 15-30 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม. ใบประดับคล้ายหูใบ มี 1 คู่ โคนเชื่อมติดกัน ริ้วประดับมี 10-12 อัน โคนเชื่อมติดกัน รูปใบหอก ยาวได้ถึง 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ ริ้วประดับ ดอกรูประฆัง สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีน้ำตาลอมม่วง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4.5-6 ซม. หลอดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียมีขนหนาแน่น ผลรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น
พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา บอรฺ์เนียว และฟิลิปปินส์ (ปาละวัน) ในไทยพบแทบทุกภาค ส่วนมากพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา หรือชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาสมาน เปลือกใช้ทำเชือกและกระดาษ บางครั้งเรียกทางการค้าในการปลูกสวนป่าว่า พญาคชราช เนื่องจากเนื้อไม้มีลายคล้ายไม้สัก แต่ไม่ทนทาน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนกระจุกยาวหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ริ้วประดับ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ขนยาวได้ถึง 8 มม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 6-10 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-36 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมยาว โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น มีต่อมตามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 15-30 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม. ใบประดับคล้ายหูใบ มี 1 คู่ โคนเชื่อมติดกัน ริ้วประดับมี 10-12 อัน โคนเชื่อมติดกัน รูปใบหอก ยาวได้ถึง 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ ริ้วประดับ ดอกรูประฆัง สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีน้ำตาลอมม่วง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4.5-6 ซม. หลอดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียมีขนหนาแน่น ผลรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น
พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา บอรฺ์เนียว และฟิลิปปินส์ (ปาละวัน) ในไทยพบแทบทุกภาค ส่วนมากพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา หรือชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาสมาน เปลือกใช้ทำเชือกและกระดาษ บางครั้งเรียกทางการค้าในการปลูกสวนป่าว่า พญาคชราช เนื่องจากเนื้อไม้มีลายคล้ายไม้สัก แต่ไม่ทนทาน
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนกระจุกยาวหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ริ้วประดับ ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ขนยาวได้ถึง 8 มม. หูใบรูปขอบขนาน ยาว 6-10 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปไข่กว้างหรือเกือบกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-36 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมยาว โคนรูปหัวใจ เส้นโคนใบ 7 หรือ 9 เส้น มีต่อมตามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 15-30 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกยาว 2.5-3 ซม. ใบประดับคล้ายหูใบ มี 1 คู่ โคนเชื่อมติดกัน ริ้วประดับมี 10-12 อัน โคนเชื่อมติดกัน รูปใบหอก ยาวได้ถึง 3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ ริ้วประดับ ดอกรูประฆัง สีเหลือง โคนด้านในมีปื้นสีน้ำตาลอมม่วง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 4.5-6 ซม. หลอดเกสรเพศผู้ยาวประมาณ 3 ซม. ก้านชูอับเรณูสั้น ก้านเกสรเพศเมียมีขนหนาแน่น ผลรูปขอบขนาน ยาว 2.5-3 ซม. มีขนหยาบแข็งยาวหนาแน่น
พบที่อินเดีย ปากีสถาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา บอรฺ์เนียว และฟิลิปปินส์ (ปาละวัน) ในไทยพบแทบทุกภาค ส่วนมากพบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา หรือชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร มีสรรพคุณเป็นยาสมาน เปลือกใช้ทำเชือกและกระดาษ บางครั้งเรียกทางการค้าในการปลูกสวนป่าว่า พญาคชราช เนื่องจากเนื้อไม้มีลายคล้ายไม้สัก แต่ไม่ทนทาน