ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงถึง 30 เมตร เป็นไม้ผลัดใบ เรือนยอดโปร่งรูปไข่กว้าง โคนเป็นพูพอน ลำต้น เปลาตรงหรือแตกกิ่งต่ำ เปลือกสีเทาแกมน้ำตาล ขณะแตกใบอ่อนสีแดงเรื่อหรือสีน้ำตาลอมแดง ใบ ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน ดอก ช่อออกตามกิ่งข้าง ดอกย่อยรวมเป็นกระจุก กลีบดอกสีขาว ผล เป็นฝักแบนเรียบสีน้ำตาล
-
ต้น ไม้ยืนต้น ลำต้น: สูง 20-30 ม. ลำต้นตรง เกลี้ยง เปลือก: เปลือกต้นสีเทาแกมน้ำตาล ใบ: ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน กว้าง 0.75-2.5 ซ.ม. ยาว 2-6 ซ.ม. ดอก: ออกเป็นช่อตามกิ่งข้าง ดอกย่อยรวม กันเป็นกระจุก กลีบดอกสีขาว ผล: เป็นฝัก แบนเรียบ สีน้ำตาล ใหญ่
-
บรรยายลักษณะต้น:ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร ใบ:ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงเวียน เรียงตรงข้าม จำนวน 4-11 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-2.5 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายมน โคนเบี้ยว ขอบเรียบ ผิวใบด้านล่างมีขนและมีสีนวลดอก:ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว เป็นกระจุก ขนาด 1.3-2 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ ปลายแยกแฉก เกสรเพศผู้จำนวนมาก โคนก้านชูอับเรณูติดกันเป็นหลอดรังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี มี 1 ช่อง มีออวูลจำนวนมาก ผล:ฝักแห้งแล้วแตก รูปขอบขนาน หัวท้ายแหลม แบน กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ฝักแก่สีนํ้าตาล มี 6-12 เมล็ด เมล็ดนูนรูปไข่ เรียงตามขวางเปลือก:เปลือกด้านในสีแดง อื่นๆ:
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร
ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงเวียน เรียงตรงข้าม จำนวน 4-11 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-2.5 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายมน โคนเบี้ยว ขอบเรียบ ผิวใบด้านล่างมีขนและมีสีนวล
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว เป็นกระจุก ขนาด 1.3-2 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ ปลายแยกแฉก เกสรเพศผู้จำนวนมาก โคนก้านชูอับเรณูติดกันเป็นหลอดรังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี มี 1 ช่อง มีออวูลจำนวนมาก
ฝักแห้งแล้วแตก รูปขอบขนาน หัวท้ายแหลม แบน กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ฝักแก่สีนํ้าตาล มี 6-12 เมล็ด เมล็ดนูนรูปไข่ เรียงตามขวาง
เปลือกด้านในสีแดง
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร
ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เรียงเวียน เรียงตรงข้าม จำนวน 4-11 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนานแกมรูปไข่ กว้าง 1.5-2.5 เซนติเมตร ยาว 3-5 เซนติเมตร ปลายมน โคนเบี้ยว ขอบเรียบ ผิวใบด้านล่างมีขนและมีสีนวล
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบและปลายกิ่ง ดอกขนาดเล็ก สีขาว เป็นกระจุก ขนาด 1.3-2 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบโคนเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอก 5 กลีบ ปลายแยกแฉก เกสรเพศผู้จำนวนมาก โคนก้านชูอับเรณูติดกันเป็นหลอดรังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี มี 1 ช่อง มีออวูลจำนวนมาก
ฝักแห้งแล้วแตก รูปขอบขนาน หัวท้ายแหลม แบน กว้าง 2-2.5 เซนติเมตร ยาว 10-15 เซนติเมตร ฝักแก่สีนํ้าตาล มี 6-12 เมล็ด เมล็ดนูนรูปไข่ เรียงตามขวาง
เปลือกด้านในสีแดง
-
ไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ สูงถึง 30 เมตร เป็นไม้ผลัดใบ เรือนยอดโปร่งรูปไข่กว้าง โคนเป็นพูพอน
ลำต้น : เปลาตรงหรือแตกกิ่งต่ำ เปลือกสีเทาแกมน้ำตาล ขณะแตกใบอ่อนสีแดงเรื่อหรือสีน้ำตาลอมแดง
ใบ : ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
ดอก : ช่อออกตามกิ่งข้าง ดอกย่อยรวมเป็นกระจุก กลีบดอกสีขาว
ผล : เป็นฝักแบนเรียบสีน้ำตาล
ลำต้น : เปลาตรงหรือแตกกิ่งต่ำ เปลือกสีเทาแกมน้ำตาล ขณะแตกใบอ่อนสีแดงเรื่อหรือสีน้ำตาลอมแดง
ใบ : ประกอบแบบขนนก 2 ชั้น เรียงสลับ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน
ดอก : ช่อออกตามกิ่งข้าง ดอกย่อยรวมเป็นกระจุก กลีบดอกสีขาว
ผล : เป็นฝักแบนเรียบสีน้ำตาล
ระบบนิเวศ :
-
พบในป่าเบญจพรรณและป่าทุ่งตอนลุ่มในภาคกลางทั่วไป และขึ้นกระจัดกระจายทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก ส่วนทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ ชอบขึ้นเป็นกลุ่มๆ และพบขึ้นห่างที่บนภูเขาสูงประมาณ 500-800 เมตร ชอบพื้นที่ชุ่มชื้นมีดินลึกและอุดมสมบูรณ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
สมุทรปราการ
-
นครราชสีมา
-
เชียงราย
-
ราชบุรี
-
พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
พะเยา, เชียงราย
-
กาญจนบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
กาญจนบุรี
-
สุรินทร์
-
ตาก
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บางกระเจ้า
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
พื้นที่เกษตรกรรมริมน้ำนนทบุรีและเกาะเกร็ด
-
พื้นที่คุ้งบางกะเจ้า อำเภอพระประแดง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
-
ถ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร เส้นรอบอก 35 ซม. ลำต้นเปลามักโค้ง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ขณะที่แตกใบอ่อนเรือนยอดจะออกสีแดงเรื่อ ๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง มีการแตกกอค่อนข้างดี เปลือกสีขาวอมเขียวและมีรอยด่างสีน้ำตาลเป็นแผ่น ๆ ทั่วลำต้น เปลือกในสีแดง ตามยอดและกิ่งอ่อนมีขนปกคลุมประปราย
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
-
ถ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร เส้นรอบอก 35 ซม. ลำต้นเปลามักโค้ง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ขณะที่แตกใบอ่อนเรือนยอดจะออกสีแดงเรื่อ ๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง มีการแตกกอค่อนข้างดี เปลือกสีขาวอมเขียวและมีรอยด่างสีน้ำตาลเป็นแผ่น ๆ ทั่วลำต้น เปลือกในสีแดง ตามยอดและกิ่งอ่อนมีขนปกคลุมประปราย
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
-
ถ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร เส้นรอบอก 35 ซม. ลำต้นเปลามักโค้ง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ขณะที่แตกใบอ่อนเรือนยอดจะออกสีแดงเรื่อ ๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง มีการแตกกอค่อนข้างดี เปลือกสีขาวอมเขียวและมีรอยด่างสีน้ำตาลเป็นแผ่น ๆ ทั่วลำต้น เปลือกในสีแดง ตามยอดและกิ่งอ่อนมีขนปกคลุมประปราย
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
-
ถ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร เส้นรอบอก 35 ซม. ลำต้นเปลามักโค้ง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ขณะที่แตกใบอ่อนเรือนยอดจะออกสีแดงเรื่อ ๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง มีการแตกกอค่อนข้างดี เปลือกสีขาวอมเขียวและมีรอยด่างสีน้ำตาลเป็นแผ่น ๆ ทั่วลำต้น เปลือกในสีแดง ตามยอดและกิ่งอ่อนมีขนปกคลุมประปราย
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
-
ถ่อน เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ สูง 15-30 เมตร เส้นรอบอก 35 ซม. ลำต้นเปลามักโค้ง เรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ขณะที่แตกใบอ่อนเรือนยอดจะออกสีแดงเรื่อ ๆ หรือสีน้ำตาลอมแดง มีการแตกกอค่อนข้างดี เปลือกสีขาวอมเขียวและมีรอยด่างสีน้ำตาลเป็นแผ่น ๆ ทั่วลำต้น เปลือกในสีแดง ตามยอดและกิ่งอ่อนมีขนปกคลุมประปราย
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
ลักษณะเนื้อไม้ เนื้อไม้คุณภาพดีคล้ายไม้พฤกษ์ (จามจุรีดง) มีเสี้ยนมักสนมากกว่า แต่เบากว่า เนื้อหยาบแต่สม่ำเสมอ มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 0.60 มีน้ำหนักแห้งที่อุณหภูมิห้องของกระพี้และแก่น 29 และ 40 ปอนด์ต่อลูกบาศก์ฟุต ตามลำดับ
ใบ ออกช่อแบบขนนกสองชั้น ช่อติดเรียงสลับ ใบยาว 30-40 ซม. บนแกนช่อใบมีช่อใบแขนงที่ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน 4-11 คู่ ยาว 15-20 ซม. แต่ละช่อแขนงจะมีใบย่อยออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกันจำนวน 5-10 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมาก ยาว 1-3 มม. ใบย่อยเบี้ยวรูปปรี คล้ายรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน หรือรูปขอบขนานแกมรูปไข่ แผ่นใบเบี้ยวไม่ได้สัดส่วน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบมน ฐานใบมนและเบี้ยว หลังใบเกลี้ยง ท้องใบมีขนละเอียดคลุมประปรายโดยเฉพาะบริเวณเส้นกลางใบสีนวลจางกว่าด้านหลังใบ
ดอก เล็ก สีขาว ไม่มีก้านดอก ขึ้นอัดแน่นบนแกนช่อดอกรูปทรงกลมบนก้านช่อยาวประมาณ 1.3-2 ซม. ช่อดอกแต่ละช่อแตกแขนงมาจากช่อใหญ่หรือรวมกลุ่มกันเป็นช่อใหญ่ตามง่ามใบ ที่ปลายกิ่งหรือใกล้ปลายกิ่ง กลีบรองกลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2-3 มม. กลีบดอกติดกันคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 4 มม. รังไข่ รูปรี ๆ ภายในมีช่องเดียวแต่มีไข่อ่อนมาก
ผล ออกเป็นฝัก สีน้ำตาล รูปบรรทัดบางและแบนเรียบ กว้าง 2-2.5 ซม. ยาว 10-15 ซม. หัวแหลมท้ายแหลม เมล็ด แบน สีน้ำตาล ฝักหนึ่ง ๆ มีเมล็ด 6-12 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นป่าผสมผลัดใบและป่าทุ่งที่ระดับความสูง200-800 ม. ออกดอกเดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม ผลแก่เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน
การขยายพันธุ์ :
-
การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดเพาะ โดยการหว่านหรือเพาะเมล็ดใน 1 กิโลกรัมจะมีเมล็ดอยู่จำนวน 20,000–30,000 เมล็ด วิธีปฏิบัติในการเพาะเมล็ด เทน้ำร้อนจัดลงไปในภาชนะที่ใส่เมล็ด ปล่อยไว้ให้เย็นข้ามคืน หว่านเมล็ดในแปลงเพาะ เมื่อเมล็ดงอกมีใบ 2-3 ใบ ย้ายไปลงถึงเพาะกล้า หรือหยอดเมล็ดในถุงเพาะโดยตรง หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือนก็สามารถย้ายไปปลูกในแปลงได้ นอกจากนี้ยังสามารถขยายพันธุ์ไม้ถ่อนได้โดยการใช้วิธีการตอนกิ่ง การปักชำเหง้า
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
-
การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดเพาะ โดยการหว่านหรือเพาะเมล็ดใน 1 กิโลกรัมจะมีเมล็ดอยู่จำนวน 20,000–30,000 เมล็ด วิธีปฏิบัติในการเพาะเมล็ด เทน้ำร้อนจัดลงไปในภาชนะที่ใส่เมล็ด ปล่อยไว้ให้เย็นข้ามคืน หว่านเมล็ดในแปลงเพาะ เมื่อเมล็ดงอกมีใบ 2-3 ใบ ย้ายไปลงถึงเพาะกล้า หรือหยอดเมล็ดในถุงเพาะโดยตรง หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือนก็สามารถย้ายไปปลูกในแปลงได้ นอกจากนี้ยังสามารถขยายพันธุ์ไม้ถ่อนได้โดยการใช้วิธีการตอนกิ่ง การปักชำเหง้า
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
-
การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดเพาะ โดยการหว่านหรือเพาะเมล็ดใน 1 กิโลกรัมจะมีเมล็ดอยู่จำนวน 20,000–30,000 เมล็ด วิธีปฏิบัติในการเพาะเมล็ด เทน้ำร้อนจัดลงไปในภาชนะที่ใส่เมล็ด ปล่อยไว้ให้เย็นข้ามคืน หว่านเมล็ดในแปลงเพาะ เมื่อเมล็ดงอกมีใบ 2-3 ใบ ย้ายไปลงถึงเพาะกล้า หรือหยอดเมล็ดในถุงเพาะโดยตรง หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือนก็สามารถย้ายไปปลูกในแปลงได้ นอกจากนี้ยังสามารถขยายพันธุ์ไม้ถ่อนได้โดยการใช้วิธีการตอนกิ่ง การปักชำเหง้า
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
-
การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดเพาะ โดยการหว่านหรือเพาะเมล็ดใน 1 กิโลกรัมจะมีเมล็ดอยู่จำนวน 20,000–30,000 เมล็ด วิธีปฏิบัติในการเพาะเมล็ด เทน้ำร้อนจัดลงไปในภาชนะที่ใส่เมล็ด ปล่อยไว้ให้เย็นข้ามคืน หว่านเมล็ดในแปลงเพาะ เมื่อเมล็ดงอกมีใบ 2-3 ใบ ย้ายไปลงถึงเพาะกล้า หรือหยอดเมล็ดในถุงเพาะโดยตรง หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือนก็สามารถย้ายไปปลูกในแปลงได้ นอกจากนี้ยังสามารถขยายพันธุ์ไม้ถ่อนได้โดยการใช้วิธีการตอนกิ่ง การปักชำเหง้า
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
-
การขยายพันธุ์นิยมใช้เมล็ดเพาะ โดยการหว่านหรือเพาะเมล็ดใน 1 กิโลกรัมจะมีเมล็ดอยู่จำนวน 20,000–30,000 เมล็ด วิธีปฏิบัติในการเพาะเมล็ด เทน้ำร้อนจัดลงไปในภาชนะที่ใส่เมล็ด ปล่อยไว้ให้เย็นข้ามคืน หว่านเมล็ดในแปลงเพาะ เมื่อเมล็ดงอกมีใบ 2-3 ใบ ย้ายไปลงถึงเพาะกล้า หรือหยอดเมล็ดในถุงเพาะโดยตรง หลังจากนั้นประมาณ 2 เดือนก็สามารถย้ายไปปลูกในแปลงได้ นอกจากนี้ยังสามารถขยายพันธุ์ไม้ถ่อนได้โดยการใช้วิธีการตอนกิ่ง การปักชำเหง้า
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
ถ่อนสามารถขึ้นได้ในที่หน้าดินที่เป็นชั้นหินตื้นและทนแล้งได้ดีแต่ไม่ทนต่ออากาศหนาวจัด และที่สูง ๆ ในสภาพธรรมชาติจะพบขึ้นอยู่ในที่ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 200-800 เมตร ดังนั้นในการเลือกพื้นที่ปลูกไม้ถ่อนจึงต้องพิจารณาถึงปัจจัยดังกล่าวด้วย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
ส่วนของตัวอย่างที่นำมาใช้ :
-
ราก เปลือก ต้น
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ราก : แก้เจ็บเอว แก้เจ็บหลัง แก้เส้นตึง แก้ท้องอืด
เปลือกต้น : เจริญอาหาร แก้ธาตุพิการ ขับผายลม บำรุงธาตุ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
ยาอายุวัฒนะ แก้ท้องร่วง แก้โรคผิวหนัง แก้บิด แก้ลมกระษัย ทาฝี
แก้โรคเรื้อน แก้แผลเปื่อยเรื้อรัง ชะล้างบาดแผล เป็นยาสมาน แก้เลือดลม
ในกองธาตุ แก้กระษัย แก้โรคเรื้อน แก้ระดูขาว บำรุงกำลัง
ไม่ระบุส่วนที่ใช้ : บำรุงธาตุ แก้ลม แก้เสมหะ แก้โรคผิวหนัง แก้ท้องร่วง แก้บิด เป็นยา
สมาน เป็นยาเจริญอาหาร ชะล้างบาดแผล
-
อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย,ใบมีรสเฝื่อนเมา นำมาเผาไฟผสมกับน้ำใบยาสูบฉุนๆ และน้ำปูนขาว ใช้เป็นยาฉีดฆ่าตัวสัตว์ หนอนและแมลงได้
ที่มาของข้อมูล
-
กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
ไม้ต้นที่มีสรรพคุณทางสมุนไพร และควรนำมาขยายพันธุ์เพื่อฟื้นฟูและอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวคุ้งบางกะเจ้าสู่ความยั่งยืน, กองสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2562
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |