ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้น: สูง 10-20 ม. เรือนยอดเป็นพุ่มแน่น เปลือกหนา สีเทา มีน้ำยางสีขาวขุ่น ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ปลายยอดแยกได้เล็กน้อย แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมัน ปลายใบมน โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบอ่อนสีน้ำตาลอ่อนแกมชมพู ดอก: ออกตามซอกใบ แยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้สีชมพูถึงแดง เส้นผ่าศูนย์ประมาณ 1 ซม. กลีบดอกหนา 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผล: เป็นผลสด ค่อนข้างกลมเมื่อสุกสีเหลืองมีกลีบเลี้ยงติดอยู่เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-6 ซม. เม็ดมีผิวบางค่อนข้างโต ฝังอยู่ในเนื้อมีสีส้ม
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแน่น เปลือกหนา สีเทา มีน้ำยางสีขาวขุ่น ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม ปลายยอดแยกได้เล็กน้อย แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมัน ปลายใบมน โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบอ่อนสีน้ำตาลอ่อนแกมชมพู ดอก ออกตามซอกใบ แยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้สีชมพูถึงแดง เส้นผ่าศูนย์ประมาณ 1ซม. กลีบดอกหนา 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลมเมื่อสุกสีเหลืองมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-6 ซม. เม็ดมีผิวบางค่อนข้างโต ฝังอยู่ในเนื้อมีสีส้ม
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแน่น เปลือกหนา สีเทา มีน้ำยางสีขาวขุ่น ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม ปลายยอดแยกได้เล็กน้อย แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมัน ปลายใบมน โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบอ่อนสีน้ำตาลอ่อนแกมชมพู ดอก ออกตามซอกใบ แยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้สีชมพูถึงแดง เส้นผ่าศูนย์ประมาณ 1ซม. กลีบดอกหนา 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลมเมื่อสุกสีเหลืองมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-6 ซม. เม็ดมีผิวบางค่อนข้างโต ฝังอยู่ในเนื้อมีสีส้ม
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแน่น เปลือกหนา สีเทา มีน้ำยางสีขาวขุ่น ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม ปลายยอดแยกได้เล็กน้อย แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมัน ปลายใบมน โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบอ่อนสีน้ำตาลอ่อนแกมชมพู ดอก ออกตามซอกใบ แยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้สีชมพูถึงแดง เส้นผ่าศูนย์ประมาณ 1ซม. กลีบดอกหนา 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลมเมื่อสุกสีเหลืองมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-6 ซม. เม็ดมีผิวบางค่อนข้างโต ฝังอยู่ในเนื้อมีสีส้ม
-
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มแน่น เปลือกหนา สีเทา มีน้ำยางสีขาวขุ่น ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม ปลายยอดแยกได้เล็กน้อย แผ่นใบรูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 7-15 ซม. ผิวใบเกลี้ยงมัน ปลายใบมน โคนใบสอบ ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ใบอ่อนสีน้ำตาลอ่อนแกมชมพู ดอก ออกตามซอกใบ แยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้สีชมพูถึงแดง เส้นผ่าศูนย์ประมาณ 1ซม. กลีบดอกหนา 5 กลีบ เกสรเพศผู้จำนวนมาก ผล เป็นผลสด ค่อนข้างกลมเมื่อสุกสีเหลืองมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-6 ซม. เม็ดมีผิวบางค่อนข้างโต ฝังอยู่ในเนื้อมีสีส้ม
ระบบนิเวศ :
-
พบบริเวณที่ชื้นหรือริมลำธาร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณที่ชื้นหรือริมลำธาร ทางภาคเหนือของประเทศไทย ผลแก่ช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
-
พบบริเวณที่ชื้นหรือริมลำธาร ทางภาคเหนือของประเทศไทย ผลแก่ช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
-
พบบริเวณที่ชื้นหรือริมลำธาร ทางภาคเหนือของประเทศไทย ผลแก่ช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
-
พบบริเวณที่ชื้นหรือริมลำธาร ทางภาคเหนือของประเทศไทย ผลแก่ช่วงเดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ชุมพร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร