ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้พุ่มเกาะอาศัย ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ขอบใบเรียบ โคนใบสอบ ปลายใบมน แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกสีแดงสด ออกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกตามซอกใบ มี 1-4 ดอก ก้านดอกยาว 1.5 ซม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดยาว ตอนปลายแยกเป็น 5 กลีบสั้นๆ เกสรผู้ 10 อัน สีเหลือง ผลเป็นผลสด ทรงกลม อวบน้ำ สีเขียว เมื่อสุกสีออกม่วงดำ ส่วนปลายนูนเป็น 5 แฉก
- ไม้พุ่มเกาะอาศัย ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ขอบใบเรียบ โคนใบสอบ ปลายใบมน แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกสีแดงสด ออกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกตามซอกใบ มี 1-4 ดอก ก้านดอกยาว 1.5 ซม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดยาว ตอนปลายแยกเป็น 5 กลีบสั้นๆ เกสรผู้ 10 อัน สีเหลือง ผลเป็นผลสด ทรงกลม อวบน้ำ สีเขียว เมื่อสุกสีออกม่วงดำ ส่วนปลายนูนเป็น 5 แฉก
- ไม้พุ่มเกาะอาศัย ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ขอบใบเรียบ โคนใบสอบ ปลายใบมน แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกสีแดงสด ออกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกตามซอกใบ มี 1-4 ดอก ก้านดอกยาว 1.5 ซม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดยาว ตอนปลายแยกเป็น 5 กลีบสั้นๆ เกสรผู้ 10 อัน สีเหลือง ผลเป็นผลสด ทรงกลม อวบน้ำ สีเขียว เมื่อสุกสีออกม่วงดำ ส่วนปลายนูนเป็น 5 แฉก
- ไม้พุ่มเกาะอาศัย ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรีแกมรูปไข่กลับ กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2-4 ซม. ขอบใบเรียบ โคนใบสอบ ปลายใบมน แผ่นใบค่อนข้างหนา ดอกสีแดงสด ออกเป็นดอกเดี่ยวหรือเป็นกระจุกตามซอกใบ มี 1-4 ดอก ก้านดอกยาว 1.5 ซม. กลีบรองดอกเป็นรูปถ้วยตื้น กลีบดอกเชื่อมกันเป็นหลอดยาว ตอนปลายแยกเป็น 5 กลีบสั้นๆ เกสรผู้ 10 อัน สีเหลือง ผลเป็นผลสด ทรงกลม อวบน้ำ สีเขียว เมื่อสุกสีออกม่วงดำ ส่วนปลายนูนเป็น 5 แฉก
การกระจายพันธุ์ :
- กระจายพันธุ์ในแถบอินโดจีน ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามคาคบไม้ และซอกหินในป่าดิบเขาหรือป่าเปิด ที่ระดับความสูง 800-2,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กุมภาพันธ์
- กระจายพันธุ์ในแถบอินโดจีน ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามคาคบไม้ และซอกหินในป่าดิบเขาหรือป่าเปิด ที่ระดับความสูง 800-2,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กุมภาพันธ์
- กระจายพันธุ์ในแถบอินโดจีน ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามคาคบไม้ และซอกหินในป่าดิบเขาหรือป่าเปิด ที่ระดับความสูง 800-2,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กุมภาพันธ์
- กระจายพันธุ์ในแถบอินโดจีน ในประเทศไทยพบเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามคาคบไม้ และซอกหินในป่าดิบเขาหรือป่าเปิด ที่ระดับความสูง 800-2,500 ม. ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- กาญจนบุรี, ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร