ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่างต้น มีน้ำยางใส เปลือกชั้นในหนาเป็นชั้น มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก หรือเกลี้ยง ไม่มีหูใบ ใบประกอบปลายคี่ ใบย่อยมี 2-4 คู่ ก้านใบประกอบยาว 5-7 ซม. ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 3-15 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อยหรือเรียบ ก้านใบสั้น ใบย่อยใบปลายยาวได้ถึง 4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ดอกสีครีม ก้านดอกยาว 1-2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ติดด้านนอกจานฐานดอก ก้านชูอับเรณูสั้น เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวง จักมน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม มี 3-5 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจัก 5 พู ผลผนังชั้นในแข็ง จักเป็นพู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2.5 ซม. ผนังหนา ส่วนมากมี 1-3 ไพรีน ขนาด 0.5-1 ซม. ใบเลี้ยงรูปฝ่ามือ
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศต่างต้น มีน้ำยางใส เปลือกชั้นในหนาเป็นชั้น มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก ใบประดับ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก หรือเกลี้ยง ไม่มีหูใบ ใบประกอบปลายคี่ ใบย่อยมี 2-4 คู่ ก้านใบประกอบยาว 5-7 ซม. ใบย่อยรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 3-15 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อยหรือเรียบ ก้านใบสั้น ใบย่อยใบปลายยาวได้ถึง 4 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ดอกสีครีม ก้านดอกยาว 1-2 มม. ขยายในผล กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ติดด้านนอกจานฐานดอก ก้านชูอับเรณูสั้น เป็นหมันในดอกเพศเมีย จานฐานดอกเป็นวง จักมน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม มี 3-5 ช่อง ลดรูปในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจัก 5 พู ผลผนังชั้นในแข็ง จักเป็นพู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2.5 ซม. ผนังหนา ส่วนมากมี 1-3 ไพรีน ขนาด 0.5-1 ซม. ใบเลี้ยงรูปฝ่ามือ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ผลัดใบ ลำต้น: สูง 10-25 ม. ลำต้นค่อนข้างเปลาตรง เปลือกต้น: เปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นสะเก็ดโต ๆ เรือนยอดค่อนข้างทึบ ใบ: เป็นช่อแบบขนนก ช่อใบติดเรียงสลับ แต่ละแขนงจะมีใบย่อย 3-11 ใบ ติดตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ยกเว้นใบยอดช่อจะเป็นใบเดี่ยว ทรงใบรูปรี หรือรูปแกนขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบหยักคอดเป็นติ่ง เนื้อใบหนา ใบแก่เกลี้ยง จะเปลี่ยนเป็นสีแดงอิฐหรือสีแสด ขอบใบอ่อนหยัก เป็นฟันเลื่อย ส่วนใบแก่มักเรียบ หรือเป็นคลื่นห่าง ๆ ดอก: เล็กสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ในแต่ละช่อจะมีทั้งดอกสมบูรณ์เพศ และดอกแยกเพศ โคนกลีบรองกลีบดอกติดกันเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ปลายแยกเป็นแฉกเล็ก ๆ 5 แฉก กลีบดอก มี 5 กลีบ มีขนด้านนอก เกสรผู้มี 10 อัน ผล: ค่อนข้างกลม เป็นปุ่มปม 2-4 พู วัดผ่าศูนย์กลางได้ 1-2 ซม. ผลสุกสีน้ำตาลดำ
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ผลัดใบ สูง 10-25 เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลาตรง เปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นสะเก็ดโต ๆ เรือนยอดค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อแบบขนนก ช่อใบติดเรียงสลับ แต่ละแขนงจะมีใบย่อย 3-11 ใบ ติดตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ยกเว้นใบยอดช่อจะเป็นใบเดี่ยว ทรงใบรูปรี หรือรูปแกนขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบหยักคอดเป็นติ่ง เนื้อใบหนา ใบแก่เกลี้ยง จะเปลี่ยนเป็นสีแดงอิฐหรือสีแสด ขอบใบอ่อนหยัก เป็นฟันเลื่อย ส่วนใบแก่มักเรียบ หรือเป็นคลื่นห่าง ๆ ดอก เล็กสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ในแต่ละช่อจะมีทั้งดอกสมบูรณ์เพศ และดอกแยกเพศ โคนกลีบรองกลีบดอกติดกันเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ปลายแยกเป็นแฉกเล็ก ๆ 5 แฉก กลีบดอก มี 5 กลีบ มีขนด้านนอก เกสรผู้มี 10 อัน ผล ค่อนข้างกลม เป็นปุ่มปม 2-4 พู วัดผ่าศูนย์กลางได้ 1-2 ซม. ผลสุกสีน้ำตาลดำ
-
เป็นไม้ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ผลัดใบ สูง 10-25 เมตร ลำต้นค่อนข้างเปลาตรง เปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นสะเก็ดโต ๆ เรือนยอดค่อนข้างทึบ ใบ เป็นช่อแบบขนนก ช่อใบติดเรียงสลับ แต่ละแขนงจะมีใบย่อย 3-11 ใบ ติดตรงข้ามกันเป็นคู่ ๆ ยกเว้นใบยอดช่อจะเป็นใบเดี่ยว ทรงใบรูปรี หรือรูปแกนขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-13 ซม. โคนใบเบี้ยว ปลายใบหยักคอดเป็นติ่ง เนื้อใบหนา ใบแก่เกลี้ยง จะเปลี่ยนเป็นสีแดงอิฐหรือสีแสด ขอบใบอ่อนหยัก เป็นฟันเลื่อย ส่วนใบแก่มักเรียบ หรือเป็นคลื่นห่าง ๆ ดอก เล็กสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อโต ๆ ตามง่ามใบและปลายกิ่ง ในแต่ละช่อจะมีทั้งดอกสมบูรณ์เพศ และดอกแยกเพศ โคนกลีบรองกลีบดอกติดกันเป็นรูปถ้วยตื้น ๆ ปลายแยกเป็นแฉกเล็ก ๆ 5 แฉก กลีบดอก มี 5 กลีบ มีขนด้านนอก เกสรผู้มี 10 อัน ผล ค่อนข้างกลม เป็นปุ่มปม 2-4 พู วัดผ่าศูนย์กลางได้ 1-2 ซม. ผลสุกสีน้ำตาลดำ
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 เมตร ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเพาะ
-
ขึ้นเป็นกลุ่ม ๆ ตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-800 เมตร ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดเพาะ
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
นครราชสีมา
-
เชียงราย
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ลำปาง
-
ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
กระบี่, ตรัง
-
จันทบุรี
-
เชียงใหม่
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
พังงา
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
กาฬสินธุ์
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชุมพร
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร,สมุนไพร,ที่อยู่อาศัย,เนื้อไม้ใช้ทำ กระดานพื้น ฝาบ้าน