ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 4-15 ม. เปลือกค่อนข้างเกลี้ยง ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก กว้าง 3-6 ซม. ยาว 9-14 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนแหลมเป็นครีบลงมาหาก้านใบ ขอบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบมีต่อมน้ำมันอยู่ทั่วไป เส้นแขนงใบข้างละ 10-14 เส้น ก้านใบสั้น ยาว 3-8 มม. หูใบยาวประมาณ 2 มม. ร่วงง่าย ดอก แยกเพศต่างต้น ช่อดอก แบบช่อกระจุกสั้น ออกตรงข้ามกับใบ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ก้านช่อดอกยาว 1-1.5 ซม. ช่อหนึ่ง ๆ มี 5-10 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 5 มม. มีขนละเอียด ดอกตูมรูปกลม มีขน กลีบเลี้ยงกลม มี 5 กลีบ ยาวประมาณ 2.5 มม. ขอบกลีบและกลีบด้านนอกมีขน ฐานดอกนูน เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก ดอกเพศเมียมีกลีบเลี้ยงคล้ายดอกตัวผู้ รังไข่เหนือ วงกลีบ มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน แต่ละอันแยกเป็น 2 แฉก ผล แบบผลแห้งแตก รูปกลม มี 3 พู ปลายบุ๋มตื้น เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. เปลือกหนา สีเหลือง มี 3 เมล็ด เมล็ด ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-8 มม.
-
ไม้ต้น สูง 3-15 เมตร กิ่งอ่อนมีขนสั้นๆ เมื่อใบหลุดร่วงมีร่องรอยชัด ใบหนาเหมือนแผ่นหนัง ท้องใบสีเขียวปนเหลือง ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมใบหอกถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายใบแหลม โคนใบเบี้ยว สีเขียวเข้มเป็นมัน ขอบใบเรียบ ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกตรงข้ามใบหรือปลายยอดเป็นช่อกระจุก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ อาจจะมีกลิ่นหอมอ่อนๆ อาจจะแตกแขนงสั้นๆ ดอกตูมทรงกลมแป้น สีเขียว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรีปลายกลม ขอบกลีบหยักเป็นไม่เท่ากันและมีขน สีเขียวปนเหลือง
กลีบโค้งห่อเข้าหากันเล็กน้อย พลิกกลับไปใกล้ก้านดอก กลีบด้านนอกมีขนสั้นๆ ปกคลุม ดอกเพศเมีย ออกตรงข้ามใบ กลีบแยกซ้อนทับ สีเขียวปนเหลือง 5 กลีบ รูปไข่กลับถึงรูปรี มีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกกลีบมีขนสั้นๆ ปกคลุม ด้านในเกลี้ยง ผลรูปทรงกลมเป็นสัน 3 สันชัดเจน สีส้มแดง มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ แตกเป็น 3 แฉก มี 3 เมล็ด เยื่อหุ้มสีขาว
กลีบโค้งห่อเข้าหากันเล็กน้อย พลิกกลับไปใกล้ก้านดอก กลีบด้านนอกมีขนสั้นๆ ปกคลุม ดอกเพศเมีย ออกตรงข้ามใบ กลีบแยกซ้อนทับ สีเขียวปนเหลือง 5 กลีบ รูปไข่กลับถึงรูปรี มีขนาดไม่เท่ากัน ด้านนอกกลีบมีขนสั้นๆ ปกคลุม ด้านในเกลี้ยง ผลรูปทรงกลมเป็นสัน 3 สันชัดเจน สีส้มแดง มีกลีบเลี้ยงติดอยู่ แตกเป็น 3 แฉก มี 3 เมล็ด เยื่อหุ้มสีขาว
-
จัดเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลำต้นมีความสูงประมาณ 7-13 เมตร ลำต้นตั้งฃรง เป็นทรงพุ่มแน่นทึบ แตกกิ่งก้านค่อนข้างกลม กิ่งก้านอ่อนและห้อยลู่ลง ที่กิ่งจะมีขนรูปดาว เปลือกต้นเป็นสีน้ำตาลแก่และแตกเป็นร่องแบบตื้นๆ ตามยาว เนื้อไม้เป็นสีขาว
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทั่วทุกภาค ขึ้นในป่าดิบ ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ที่สูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600 ม. ในต่างประเทศพบที่อินเดีย เมียนมา ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอก สีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผล ค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอก สีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผล ค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอก สีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผล ค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอก สีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผล ค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 3-7 ม. กิ่งก้านอ่อน ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปหอก กว้าง 3-8 ซม. ยาว 9-22 ซม. เนื้อใบหนาเป็นมัน ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอก สีเขียวอมเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อสั้นๆตรงซอกใบ กลิ่นหอม ดอกแยกเพศ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ขนาด 2.5 มม. ก้านดอกยาว 5 มม. กลีบรองดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้จำนวนมาก ดอกเพศเมียมีลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่กลมมี 3 ช่อง ผล ค่อนข้างกลม ผิวเกลี้ยง ขนาด 2 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง แตกตามพู เมล็ดค่อนข้างกลม ขนาด 7-8 มม.
-
ใบ - ใบหนาแข็งและดกทึบ โดยใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ๆ ลักษณะของใบเป็นรูปหอกแกมรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบแหลม ส่วนขอบใบจักเป็นซี่ฟัน ใบมีความกว้างประมาณ 3-8 เซนติเมตร และยาวประมาณ 9-22 เซนติเมตร เนื้อใบมีลักษณะหนาเหนียวคล้ายแผ่นหนัง หลังใบเรียบลื่นเป็นมัน ส่วนท้องใบเรียบและมีสีอ่อนกว่า ผิวใบด้านล่างมีต่อมสีเหลืองและมีขนเป็นรูปดาว มีเส้นใบข้าง 5-9 คู่ มีก้านใบยาวประมาณ 2-5 มิลลิเมตร ส่วนหูใบมีขนาดเล็กประมาณ 2 มิลลิเมตร แต่ละคู่เชื่อมกัน หลุดร่วงได้ง่าย และจะทิ้งแผลเป็นวงไว้
ดอก - ดอกมีกลิ่นหอมสีเขียวอมสีเหลืองอ่อน ออกดอกเป็นช่อสั้นๆ ตามซอกใบ
ขนาดประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร ในช่อดอกจะมีดอกอยู่ประมาณ 5-10 ดอก อยู่ตรงข้ามกับใบ ดอกมีใบประดับลักษณะเป็นรูปหอกปลายแหลมยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร และกว้างประมาณ 0.7-0.8 มิลลิเมตร ส่วนดอกจะเป็นแบบแยกเพศแยกต้นและไม่มีกลีบดอก โดยดอกเพศผู้จะมีขนาดประมาณ 2.5 มิลลิเมตร และมี
เกสรเพศผู้ประมาณ 35-60 ก้าน แต่ละอันจะมีต่อมอยู่ที่ฐาน ฐานรองดอกนูนพองออก และอาจพบเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันปะปนอยู่ด้วย ส่วนดอกเพศเมียจะมีลักษณะเหมือนกับดอกเพศผู้ แต่จะมีรังไข่เหนือวงกลีบ มีขนอยู่หนาแน่น มีรังไข่ 3 ช่อง รังไข่มีขนละเอียดและมีหมอนรองดอก มีก้านเกสรเพศเมีย 3 ก้าน ก้านดอกยาว
ประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบรองดอกหนามี 5 กลีบ โคนเชื่อมกันเล็กน้อยและขอบจักเป็นซี่ฟัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
ผล - ผลมีลักษณะเกือบกลม ผิวผลเกลี้ยง มีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนสีเหลืองอมส้ม แตกตามพู มีพู 3 พูและมีติ่งเล็กๆ อยู่ที่ยอด ภายในผลจะมีเมล็ดอยู่ประมาณ 3 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะค่อนข้างกลม มีขนาดประมาณ 7-8 มิลลิเมตร เมล็ดเป็นสีน้ำตาลเข้มและมีเนื้อบางๆ สีขาวหุ้มเมล็ดอยู่ โดยจะติดผลในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน
ดอก - ดอกมีกลิ่นหอมสีเขียวอมสีเหลืองอ่อน ออกดอกเป็นช่อสั้นๆ ตามซอกใบ
ขนาดประมาณ 0.8-1 เซนติเมตร ในช่อดอกจะมีดอกอยู่ประมาณ 5-10 ดอก อยู่ตรงข้ามกับใบ ดอกมีใบประดับลักษณะเป็นรูปหอกปลายแหลมยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร และกว้างประมาณ 0.7-0.8 มิลลิเมตร ส่วนดอกจะเป็นแบบแยกเพศแยกต้นและไม่มีกลีบดอก โดยดอกเพศผู้จะมีขนาดประมาณ 2.5 มิลลิเมตร และมี
เกสรเพศผู้ประมาณ 35-60 ก้าน แต่ละอันจะมีต่อมอยู่ที่ฐาน ฐานรองดอกนูนพองออก และอาจพบเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันปะปนอยู่ด้วย ส่วนดอกเพศเมียจะมีลักษณะเหมือนกับดอกเพศผู้ แต่จะมีรังไข่เหนือวงกลีบ มีขนอยู่หนาแน่น มีรังไข่ 3 ช่อง รังไข่มีขนละเอียดและมีหมอนรองดอก มีก้านเกสรเพศเมีย 3 ก้าน ก้านดอกยาว
ประมาณ 5 มิลลิเมตร กลีบรองดอกหนามี 5 กลีบ โคนเชื่อมกันเล็กน้อยและขอบจักเป็นซี่ฟัน โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม
ผล - ผลมีลักษณะเกือบกลม ผิวผลเกลี้ยง มีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนสีเหลืองอมส้ม แตกตามพู มีพู 3 พูและมีติ่งเล็กๆ อยู่ที่ยอด ภายในผลจะมีเมล็ดอยู่ประมาณ 3 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะค่อนข้างกลม มีขนาดประมาณ 7-8 มิลลิเมตร เมล็ดเป็นสีน้ำตาลเข้มและมีเนื้อบางๆ สีขาวหุ้มเมล็ดอยู่ โดยจะติดผลในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะต้นกล้า
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะต้นกล้า
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะต้นกล้า
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะต้นกล้า
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะต้นกล้า
2. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี
-
สงขลา
-
จันทบุรี
-
ลำปาง
-
อุทัยธานี
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
จันทบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
ระยอง
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
สระบุรี
-
ชัยภูมิ
-
สุพรรณบุรี
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย, พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
ชลบุรี
-
กำแพงเพชร
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
ลพบุรี
-
ลพบุรี
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ศรีสะเกษ
-
ชัยภูมิ
-
กาฬสินธุ์
-
อุบลราชธานี
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ชุมพร
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
ชุมพร
-
หนองคาย
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
-
ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า คุ้งกระเบน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ พุเตย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
ที่มาของข้อมูล
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมป่าไม้
-
โครงการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนในท้องถิ่น, กองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช