ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม กว้าง 6-14 ซม. ยาว 10-17 ซม. ใบอ่อน มีขนรูปดาว ขอบใบหยักมน ไม่สม่ำเสมอ ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกบานกว้าง 3.5-4.5 ซม. มีใบประดับสีเขียวสด กลีบรองดอก ปลายแยก 5 แฉก แคบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปหอกแกมขอบขนาน ปลายมนโค้งกลับไป ทางด้านหลัง หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก สีเหลือง โคนเชื่อมกับ ฐานรองดอก และล้อมรอบเกสรเมียที่มีปลายแยก 5-10 แฉก ผล รูปไข่แคบ ขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดมีปีก
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม กว้าง 6-14 ซม. ยาว 10-17 ซม. ใบอ่อน มีขนรูปดาว ขอบใบหยักมน ไม่สม่ำเสมอ ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกบานกว้าง 3.5-4.5 ซม. มีใบประดับสีเขียวสด กลีบรองดอก ปลายแยก 5 แฉก แคบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปหอกแกมขอบขนาน ปลายมนโค้งกลับไป ทางด้านหลัง หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก สีเหลือง โคนเชื่อมกับ ฐานรองดอก และล้อมรอบเกสรเมียที่มีปลายแยก 5-10 แฉก ผล รูปไข่แคบ ขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดมีปีก
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม กว้าง 6-14 ซม. ยาว 10-17 ซม. ใบอ่อน มีขนรูปดาว ขอบใบหยักมน ไม่สม่ำเสมอ ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกบานกว้าง 3.5-4.5 ซม. มีใบประดับสีเขียวสด กลีบรองดอก ปลายแยก 5 แฉก แคบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปหอกแกมขอบขนาน ปลายมนโค้งกลับไป ทางด้านหลัง หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก สีเหลือง โคนเชื่อมกับ ฐานรองดอก และล้อมรอบเกสรเมียที่มีปลายแยก 5-10 แฉก ผล รูปไข่แคบ ขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดมีปีก
-
ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 เมตร ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่กว้างหรือเกือบกลม กว้าง 6-14 ซม. ยาว 10-17 ซม. ใบอ่อน มีขนรูปดาว ขอบใบหยักมน ไม่สม่ำเสมอ ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ดอกบานกว้าง 3.5-4.5 ซม. มีใบประดับสีเขียวสด กลีบรองดอก ปลายแยก 5 แฉก แคบ กลีบดอก 5 กลีบ รูปหอกแกมขอบขนาน ปลายมนโค้งกลับไป ทางด้านหลัง หลุดร่วงง่าย เกสรผู้จำนวนมาก สีเหลือง โคนเชื่อมกับ ฐานรองดอก และล้อมรอบเกสรเมียที่มีปลายแยก 5-10 แฉก ผล รูปไข่แคบ ขนาดกว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 2-3 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดมีปีก
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันตก เฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูง 300-1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันตก เฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูง 300-1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันตก เฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูง 300-1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
-
อินเดีย ถึงเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบทางภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันตก เฉียงใต้ บริเวณป่าผลัดใบผสม ที่ระดับความสูง 300-1,200 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา, เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
ขอนแก่น, ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
เลย
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, แพร่
-
สุโขทัย
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
กาญจนบุรี
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
เลย
-
ตาก
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
-
ลำปาง
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
-
อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำพอง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
กรมป่าไม้
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช