ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงถึง 35 ม. มีหูใบหุ้มตาใบ และแนบติดกับก้านใบ ใบ เดี่ยว ออกแบบเวียนเป็นวงรอบ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ถึง รูปไข่ กว้าง 4-9 ซม.ยาว 10-20 ซม.ก้านใบมีรอยหูใบที่หลุดร่วง กลีบรวม สีเหลืองส้ม รูปใบหอกกลับ กว้าง 1.0-1.5 ซม.ยาว 4.0-4.5 ซม. กลีบชั้นในจะแคบกว่า เกสรเพศผู้ แยกจากกัน รังไข่จำนวนมากแยกจากกัน ผล แบบผลกลุ่ม เมื่อแห้งแตกเป็นแนวเดียว
-
ไม้ต้น สูงถึง 35 ม. มีหูใบหุ้มตาใบ และแนบติดกับก้านใบ ใบ เดี่ยว ออกแบบเวียนเป็นวงรอบ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ถึง รูปไข่ กว้าง 4-9 ซม.ยาว 10-20 ซม.ก้านใบมีรอยหูใบที่หลุดร่วง กลีบรวม สีเหลืองส้ม รูปใบหอกกลับ กว้าง 1.0-1.5 ซม.ยาว 4.0-4.5 ซม. กลีบชั้นในจะแคบกว่า เกสรเพศผู้ แยกจากกัน รังไข่จำนวนมากแยกจากกัน ผล แบบผลกลุ่ม เมื่อแห้งแตกเป็นแนวเดียว
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย พม่า เนปาล อินโดจีน และทางทิศตะวันตกถึงทิศใต้ของจีน และเป็นพืชปลูกหลายประเทศในเขตอบอุ่น พบในป่าดงดิบที่ระดับต่ำ 200-1000 ม. จากน้ำทะเล
-
อินเดีย พม่า เนปาล อินโดจีน และทางทิศตะวันตกถึงทิศใต้ของจีน และเป็นพืชปลูกหลายประเทศในเขตอบอุ่น พบในป่าดงดิบที่ระดับต่ำ 200-1000 ม. จากน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ราชบุรี
-
ชุมพร
-
ยะลา, นราธิวาส
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา