ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
การกระจายพันธุ์ :
- พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
- พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ต้นมะกอกน้ำ มีเขตการกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกกันทั่วไป[4] โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบแต่ไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มโปร่ง มีรูอากาศเป็นแนวยาว เปลือกลำต้นค่อนข้างเรียบเป็นสีน้ำตาล มีรอยแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตื้น ๆ ตามความยาวของลำต้น ตามกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน
- ต้นมะกอกน้ำ มีเขตการกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกกันทั่วไป[4] โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบแต่ไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มโปร่ง มีรูอากาศเป็นแนวยาว เปลือกลำต้นค่อนข้างเรียบเป็นสีน้ำตาล มีรอยแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตื้น ๆ ตามความยาวของลำต้น ตามกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน
การขยายพันธุ์ :
- 1. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การเพาะเมล็ด
- 1. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- กาญจนบุรี, ตาก
- ลำปาง
- นนทบุรี