ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง แกตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-4 ม. ก่ิงก้านมีขนสั้นๆ ที่บริเวณปลายกิ่ง ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 15-30 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปเคียว กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. ท้องใบมีขนบางๆ โคนใบเบี้ยว ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ผล สด รูปกระสวยสีแดง
-
ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง แกตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-4 ม. ก่ิงก้านมีขนสั้นๆ ที่บริเวณปลายกิ่ง ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 15-30 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปเคียว กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. ท้องใบมีขนบางๆ โคนใบเบี้ยว ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ผล สด รูปกระสวยสีแดง
-
ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง แกตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-4 ม. ก่ิงก้านมีขนสั้นๆ ที่บริเวณปลายกิ่ง ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 15-30 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปเคียว กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. ท้องใบมีขนบางๆ โคนใบเบี้ยว ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ผล สด รูปกระสวยสีแดง
-
ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งตรง แกตกกิ่งก้านมาก สูง 1.5-4 ม. ก่ิงก้านมีขนสั้นๆ ที่บริเวณปลายกิ่ง ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อย 15-30 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปเคียว กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-8 ซม. ท้องใบมีขนบางๆ โคนใบเบี้ยว ดอกช่อแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ดอกย่อยจำนวนมาก กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ผล สด รูปกระสวยสีแดง
-
สูง 130.51-281.81 เซนติเมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้น 24.4-40.2 มิลลิเมตร ขนาดใบยาว 5-7.2 เซนติเมตร ช่อแยกแขนงกว้าง 2.17-3.13 เซนติเมตร ยาว 5.56-10.28 เซนติเมตร มี 40-62 ดอกต่อช่อ ช่อดอกย่อยยาว 0.87-2.57 เซนติเมตร มี 4-9 ดอกต่อช่อย่อย ผลยาว 0.83-1.57 เซนติเมตร กว้าง 0.55-0.81 เซนติเมตร จำนวน 21-43 ผลต่อช่อ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าดงดิบ ป่าละเมาะ
-
พบตามป่าดงดิบ ป่าละเมาะ
-
พบตามป่าดงดิบ ป่าละเมาะ
-
พบตามป่าดงดิบ ป่าละเมาะ
-
พบขึ้นกระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่ป่าโปร่ง ป่าผลัดใบ ป่าละเมาะทั่วไป เขตป่าร้อนชื้นทางภาคใต้ ดินร่วน ดินทราย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
ในป่าสาธารณะบ้านปลาอีด อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
-
นครราชสีมา
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
ชัยภูมิ
-
เลย
-
มุกดาหาร
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่มกึ่งไม้ต้นขนาดเล็ก
-
เป็นพืชอายุหลายปี ทรงพุ่มขนาดเล็กตั้งตรง แตกกิ่งก้านมาก ลำต้นสีเขียวอมน้ำตาลเทา ค่อนข้างเหนียวเล็กน้อย มีขนนุ่มสีน้ำตาลอ่อนปกคลุมหนาแน่น ใบดกทึบ ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ (odd-pinnate) เรียงสลับ (alternate) ใบเป็นแบบรูปขอบขนาน (oblong) โคนใบเบี้ยว (unequal) ขอบใบล่างเรียวแคบเข้าหาโคน ขอบใบบนโค้งกว้างจากส่วนโคนเรียวแคบไปปลายใบ ปลายใบ (apex) รูปป้านมน (abtuse) ใบมีขนละเอียด นุ่ม สีขาว ปกคลุมหนาแน่น ผิวใบหนา นุ่มมาก (tender) หน้าใบสีเขียวเข้มกว่าหลังใบ เส้นใบ (vein) เรียงตัวแบบโค้งจรดกัน (anastomosing) เส้นกลางใบ (mid rib) สีขาวเห็นชัดเจนยาวจากโคนไปปลายใบ ขอบใบสีเขียวจาง ๆ เป็นคลื่นเล็กน้อย (repand) มีรอยหยักแบบขนครุย (ciliate) ขนยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร โคนก้านใบบวมพองออกเล็กน้อย ไม่มีหูใบ (stipule) ดอกออกตลอดทั้งปี ช่อดอกออกจากปลายกิ่ง และตาข้าง แบบช่อแยกแขนงเป็นกระจุก (thryse) ตั้งชูขึ้น กลีบดอกรูปกงล้อ สีเขียวอมเหลืองมี 3-4 กลีบ อับเรณู (anther) สีเหลือง มี 6-8 อับต่อดอก ฝักเป็นผล ผลอ่อนรูปไข่สีเขียว ผลสุกสีส้มอมชมพูปนขาว ผิวใสลักษณะฉ่ำน้ำ
ถิ่นกำเนิด :
-
ไทย
การขยายพันธุ์ :
-
ขยายพันธุ์ได้ด้วยเมล็ด
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
สมัดใหญ่ :: ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clausena excavata Burm.fil.วงศ์ : Rutaceaeชื่ออื่น ๆ : แสนโศก, ชะมัด, เพี้ยฟานดง สมัดดง สมัดใหญ่ (เลย), หญ้าสาบฮิ้น, หมี่, มะหรุย, ยม, รุ้ย, สีสม, หมอน้อย (อุตรดิตถ์), หัสคุณโคก, สามเสือ, สามโสก, สำรุย, หวดหม่อน, หัสคุณ (สระบุรี), อ้อยช้างลักษณะทางพฤกษาศาสตร์ : วิสัย : เป็นไม้พุ่มที่มีความสูงไม่เกิน 1 เมตรและแตกกิ่งมาก เปลือก : สีน้ำตาลและผิวเรียบ มีขนสั้น ๆ ที่บริเวณปลายกิ่ง ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก ที่เรียงแบบสลับ ใบย่อยเรียงแบบตรงกันข้าม ประมาณ 7 – 15 ใบ เป็นปลายใบคี่ แผ่นใบย่อยเป็นรูปไข่ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก เนื้อใบบาง มีต่อมน้ำมันเล็ก ๆ มีขนบาง ๆ ปกคลุมแผ่นใบ ดอก : ออกดอ
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
พืชอาหารสัตว์พื้นเมือง เล่ม 2
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช