ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสีน้ำตาลแดงหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ใบอ่อน ก้านดอก และผล ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 3.5-8 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนยาว เส้นแขนงใบข้างละ 5-7 เส้น ก้านใบยาว 2-6 มม. ช่อดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.7 ซม. ก้านช่อยาว 0.6-2 ซม. ใบประดับมี 1-2 คู่ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 3-5 มม. ก้านดอกยาว 4-6 มม. ใบประดับย่อยรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1-2 มม. หลอดกลีบยาวประมาณ 1 มม. โคนมีขน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยมตื้น ๆ ก้านชูอับเรณูยาว 3-4 มม. รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลย่อยกว้าง 4-7 มม. ยาว 4 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 6 มม. รวมจะงอย
-
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบช่วงสั้นสูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลา ตรง เปลือกสีเทาจนถึงน้ำตาลดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ทั่วไป ใบ เป็นใบเดี่ยวติดเรียงสลับ ทรงใบรูปรีแกมรูปหอก โคนใบสอบแคบปลายใบเรียวแหลม เนื้อใบค่อนข้างบาง ท้องใบและขอบใบมีขนนุ่มยาว ๆ สีเทาอมเหลือง หรือบางทีออกสีเงิน ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยวตามง่ามใบ รวมกันเป็นกลุ่มกลมวัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเหลือง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นหลอดเรียว ปลายหลอดแผ่กว้างแยกเป็น 5 แฉก ด้านในมีขนยาว ๆ ทั่วไป ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 10 อัน เรียงตัวเป็น 2 วง ผล เล็กรูปรี มีปีกหรือคีบออกทางด้ายข้าง 2 ปีก ส่วนบนเป็นติ่ง หรือเป็นหางยื่นผลอยู่รวมกันเป็นก้อนกลม วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 มม.
-
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบช่วงสั้นสูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลา ตรง เปลือกสีเทาจนถึงน้ำตาลดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ทั่วไป ใบ เป็นใบเดี่ยวติดเรียงสลับ ทรงใบรูปรีแกมรูปหอก โคนใบสอบแคบปลายใบเรียวแหลม เนื้อใบค่อนข้างบาง ท้องใบและขอบใบมีขนนุ่มยาว ๆ สีเทาอมเหลือง หรือบางทีออกสีเงิน ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยวตามง่ามใบ รวมกันเป็นกลุ่มกลมวัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเหลือง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นหลอดเรียว ปลายหลอดแผ่กว้างแยกเป็น 5 แฉก ด้านในมีขนยาว ๆ ทั่วไป ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 10 อัน เรียงตัวเป็น 2 วง ผล เล็กรูปรี มีปีกหรือคีบออกทางด้ายข้าง 2 ปีก ส่วนบนเป็นติ่ง หรือเป็นหางยื่นผลอยู่รวมกันเป็นก้อนกลม วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 มม.
-
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบช่วงสั้นสูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลา ตรง เปลือกสีเทาจนถึงน้ำตาลดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ทั่วไป ใบ เป็นใบเดี่ยวติดเรียงสลับ ทรงใบรูปรีแกมรูปหอก โคนใบสอบแคบปลายใบเรียวแหลม เนื้อใบค่อนข้างบาง ท้องใบและขอบใบมีขนนุ่มยาว ๆ สีเทาอมเหลือง หรือบางทีออกสีเงิน ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยวตามง่ามใบ รวมกันเป็นกลุ่มกลมวัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเหลือง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นหลอดเรียว ปลายหลอดแผ่กว้างแยกเป็น 5 แฉก ด้านในมีขนยาว ๆ ทั่วไป ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 10 อัน เรียงตัวเป็น 2 วง ผล เล็กรูปรี มีปีกหรือคีบออกทางด้ายข้าง 2 ปีก ส่วนบนเป็นติ่ง หรือเป็นหางยื่นผลอยู่รวมกันเป็นก้อนกลม วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 มม.
-
ไม้ต้น ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบช่วงสั้นสูง 15-25 เมตร ลำต้นเปลา ตรง เปลือกสีเทาจนถึงน้ำตาลดำ แตกเป็นสะเก็ดเล็ก ๆ ทั่วไป ใบ เป็นใบเดี่ยวติดเรียงสลับ ทรงใบรูปรีแกมรูปหอก โคนใบสอบแคบปลายใบเรียวแหลม เนื้อใบค่อนข้างบาง ท้องใบและขอบใบมีขนนุ่มยาว ๆ สีเทาอมเหลือง หรือบางทีออกสีเงิน ดอก ออกเป็นช่อเดี่ยวตามง่ามใบ รวมกันเป็นกลุ่มกลมวัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเหลือง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ โคนกลีบรองดอกติดกันเป็นหลอดเรียว ปลายหลอดแผ่กว้างแยกเป็น 5 แฉก ด้านในมีขนยาว ๆ ทั่วไป ไม่มีกลีบดอก เกสรผู้ 10 อัน เรียงตัวเป็น 2 วง ผล เล็กรูปรี มีปีกหรือคีบออกทางด้ายข้าง 2 ปีก ส่วนบนเป็นติ่ง หรือเป็นหางยื่นผลอยู่รวมกันเป็นก้อนกลม วัดผ่าศูนย์กลางประมาณ 15 มม.
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณและป่าดิบแล้ง มักขึ้นบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 750 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายทั่วไป ตามป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งใกล้ชายห้วยตามภาคต่าง ๆ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-500 เมตร
-
พบกระจายทั่วไป ตามป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งใกล้ชายห้วยตามภาคต่าง ๆ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-500 เมตร
-
พบกระจายทั่วไป ตามป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งใกล้ชายห้วยตามภาคต่าง ๆ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-500 เมตร
-
พบกระจายทั่วไป ตามป่าเบญจพรรณชื้นและป่าดิบแล้งใกล้ชายห้วยตามภาคต่าง ๆ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 100-500 เมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
สระบุรี
-
สระบุรี
-
เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
แม่ฮ่องสอน
-
เพชรบูรณ์
-
กาญจนบุรี
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
เลย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
เลย
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
-
ชลบุรี
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
พิษณุโลก
-
เลย
-
เลย
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ตาก
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า อุทยานสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
-
อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ที่อยู่อาศัย
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช