ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
การกระจายพันธุ์ :
- พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ และชายป่าแล้งทั่วไป ยกเว้นทางภาคตะวันออกเฉียงใต้และภาคใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 50-700 เมตร
- พบขึ้นทั่วไปตามป่าเบญจพรรณ และชายป่าแล้งทั่วไป ยกเว้นทางภาคตะวันออกเฉียงใต้และภาคใต้ ที่สูงจากระดับน้ำทะเล 50-700 เมตร
- อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า ภูมิภาค อินโดจีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ประเทศไทยพบที่ภาคใต้บริเวณที่ราบ ป่าดิบแล้ง ป่าผลัดใบแล้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- อุตรดิตถ์,แพร่
- ลำปาง, ลำพูน
- แม่ฮ่องสอน
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 6-12 เมตร โคนต้นและกิ่งก้านมีหนามยาวแข็ง ๆ ทั่งไปเรือนยอดรูปไข่ ใบ เป็นใบประกอบ ติดเรียงสลับ ยาว 10-20 ซม. มีใบย่อยรูปไข่ 3 ใบ สองใบล่างมีขนาดเล็ก และติดตรงข้ามกัน ส่วนใบปลายมีขนาดใหญ่ และออกเป็นใบเดี่ยว โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม เนื้อใบบางเกลี้ยง ดอก เล็กสีอมเขียว หรือเนื้อเหลือง กลิ่นหอม ออกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ บริเวณปุ่มปมตามกิ่ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบฐานดอกกลางแผ่เป็นรูปดาว มี 4-5 แฉกแหลม ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้มีมาก ผล รูปไข่ถึงค่อนข้างกลมป้อม โตวัดผ่าศูนย์กลาง 8-10 ซม. ยาว 12-18 ซม. เปลือกสีเขียวอ่อนถึงเหลืองผิวเรียบและแข็งมาก ภายในมีเนื้อเยื่อสีส้มที่มียางเหนียว ๆ เมล็ดมีมาก รูปรี ๆ และแบน
- เป็นไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ผลัดใบ สูง 6-12 เมตร โคนต้นและกิ่งก้านมีหนามยาวแข็ง ๆ ทั่งไปเรือนยอดรูปไข่ ใบ เป็นใบประกอบ ติดเรียงสลับ ยาว 10-20 ซม. มีใบย่อยรูปไข่ 3 ใบ สองใบล่างมีขนาดเล็ก และติดตรงข้ามกัน ส่วนใบปลายมีขนาดใหญ่ และออกเป็นใบเดี่ยว โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม เนื้อใบบางเกลี้ยง ดอก เล็กสีอมเขียว หรือเนื้อเหลือง กลิ่นหอม ออกรวมกันเป็นช่อสั้น ๆ บริเวณปุ่มปมตามกิ่ง เป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลีบฐานดอกกลางแผ่เป็นรูปดาว มี 4-5 แฉกแหลม ๆ กลีบดอกมี 5 กลีบ เกสรผู้มีมาก ผล รูปไข่ถึงค่อนข้างกลมป้อม โตวัดผ่าศูนย์กลาง 8-10 ซม. ยาว 12-18 ซม. เปลือกสีเขียวอ่อนถึงเหลืองผิวเรียบและแข็งมาก ภายในมีเนื้อเยื่อสีส้มที่มียางเหนียว ๆ เมล็ดมีมาก รูปรี ๆ และแบน
- ออกดอกเดือนตุลาคม - ธันวาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- - ต้นมะตูม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5–10 เมตร แตกกิ่งต่ำ ตามลำต้นมีหนามยาว เปลือกสีเทา เรือนยอดค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ
- ดอก : สีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม ขนาดเล็ก ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- ผล : เป็นรูปไข่แข็ง เนื้อสีเหลือง มียางเหนียว
- - ต้นมะตูม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5–10 เมตร แตกกิ่งต่ำ ตามลำต้นมีหนามยาว เปลือกสีเทา เรือนยอดค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ปลายใบแหลม โคนใบสอบ
- ดอก : สีขาวอมเขียวหรือสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม ขนาดเล็ก ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
- ผล : เป็นรูปไข่แข็ง เนื้อสีเหลือง มียางเหนียว
- ไม้ต้น สูง 10-15 เมตร ลำต้นมีหนาม ใบ ประกอบแบบนิ้วมือเรียงเวียน ใบย่อยรูปรีหรือรูปไข่แกมใบหอก กว้าง 2-7เซนติเมตร ยาว 4 - 13 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม โคนกลม ถึงรูปลิ่มแคบ ขอบหยักมนถึงหยักมนถี่ ดอก แบบช่อกระจะออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง สีขาวอมเขียว มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอก 5 กลีบ ด้านนอกสีเขียวอ่อน ด้านในสีนวล เกสรเพศผู้จำนวนมากรังไข่เหนือวงกลีบ ภายในมีหลายช่องผล แบบผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด ทรงกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 6- 12 เซนติเมตร เนื้อในสีเหลืองแกมเขียว ผนังผลชั้นกลางหนา เมล็ดรูปรีแบน จำนวนมาก
การขยายพันธุ์ :
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบกิ่ง
- 1. การเพาะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
3. การเสียบกิ่ง
- เพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- อาหาร,สมุนไพร,เนื้อไม้มีสีขาวแกมเหลืองอ่อน เนื้อละเอียดไม่มีแก่น เมื่อสดมีกลิ่นหอม ใช้ทำหวีและเครื่องดนตรี ยาง จากผลดิบผสมสีทาแทนกาว เปลือกของผลนำมาบดให้สีเหลืองใช้ย้อมผ้า เนื้อในผลสุกรับประทานเป็นของหวานหรือเชื่อม ใบใช้ในพิธีมงคลต่าง ๆ
- นำผลมาผ่าออกนำไส้ข้างในออกให้หมดแล้วล้างนำมาต้มดื่ม ยาแก้หวัด
ที่มาของข้อมูล