ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว มีขนยาวและขนรูปดาวตามกิ่ง หูใบด้านนอก แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก หรือเกลี้ยง หูใบรูปใบหอก ยาวได้ถึง 7 ซม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายมน โคนรูปลิ่มกว้างหรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 10-20 เส้น ก้านใบยาว 2.5-6.5 ซม. ช่อดอกยาว 3-10 ซม. ช่ออ่อนมีใบประดับหุ้ม มี 4-7 ดอก เรียงซิกแซ็กด้านเดียว ก้านดอกหนา ยาว 1-2 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 5 มม. กลีบยาว 2 กลีบ รูปใบหอก ยาว 1-2 ซม. กลีบสั้น 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-6 มม. ดอกสีขาวอมชมพู มีสีเข้มด้านใน กลีบรูปใบหอก ยาว 4-6 ซม. ด้านนอกมีขนสั้น เกสรเพศผู้มีประมาณ 30 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น โคนแผ่กว้าง อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. รยางค์รูปเส้นด้าย ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของอับเรณู รังไข่มีขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบเลี้ยงหุ้มผลเรียบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3.5 ซม. ปีกยาว 2 ปีก ยาว 8-15 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก รูปรีกว้าง ยาว 1.5-2 ซม. ขอบพับกลับ
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 30 ม. กิ่งอ่อนมีขนยาวนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 12-15 ซม. ยาว 15-25 ซม. มีขนที่ผิวใบด้านล่าง หูใบรูปคุ่มหุ้มยอดสีแดง หลุดร่วงง่าย ช่อดอกมีดอกน้อย ออกเป็นกลุ่มที่ซอกใบ ดอกชมขาวอมพู กลีบบิดเวียน ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. ตัวผลกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ออกดอกเดือน ม.ค.-มี.ค.
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 30 ม. กิ่งอ่อนมีขนยาวนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 12-15 ซม. ยาว 15-25 ซม. มีขนที่ผิวใบด้านล่าง หูใบรูปคุ่มหุ้มยอดสีแดง หลุดร่วงง่าย ช่อดอกมีดอกน้อย ออกเป็นกลุ่มที่ซอกใบ ดอกชมขาวอมพู กลีบบิดเวียน ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. ตัวผลกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ออกดอกเดือน ม.ค.-มี.ค.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 30 ม. กิ่งอ่อนมีขนยาวนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 12-15 ซม. ยาว 15-25 ซม. มีขนที่ผิวใบด้านล่าง หูใบรูปคุ่มหุ้มยอดสีแดง หลุดร่วงง่าย ช่อดอกมีดอกน้อย ออกเป็นกลุ่มที่ซอกใบ ดอกชมขาวอมพู กลีบบิดเวียน ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. ตัวผลกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ออกดอกเดือน ม.ค.-มี.ค.
-
ไม้ต้นผลัดใบ สูงถึง 30 ม. กิ่งอ่อนมีขนยาวนุ่ม ใบเดี่ยว เรียงแบบเวียน รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 12-15 ซม. ยาว 15-25 ซม. มีขนที่ผิวใบด้านล่าง หูใบรูปคุ่มหุ้มยอดสีแดง หลุดร่วงง่าย ช่อดอกมีดอกน้อย ออกเป็นกลุ่มที่ซอกใบ ดอกชมขาวอมพู กลีบบิดเวียน ผลมีปีกขนาดใหญ่ 2 ปีก ปีกรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. ตัวผลกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. ออกดอกเดือน ม.ค.-มี.ค.
ระบบนิเวศ :
-
ขึ้นกระจายหรือเป็นกลุ่มหนาแน่นตามป่าเต็งรัง ป่าสน หรือป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร ทางภาคใต้มักพบกระจายใกล้ริมฝั่งทะเล ซึ่งส่วนต่าง ๆ มักเกลี้ยง ส่วนทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทั้งมีขนและเกลี้ยง ต้นที่เกลี้ยงเคยแยกเป็น var. subnudus Ryan & Kerr
การกระจายพันธุ์ :
-
-
-
-
-
-
-
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
ภูผาเทิบ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งตะนะ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ คลองวังเจ้า
-
อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
-
อุทยานแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติไทยประจัน
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
-
อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาดโตน
-
อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ ไทรทอง
-
อุทยานแห่งชาติ นายูง-น้ำโสม
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
-
อุทยานแห่งชาติ ภูจอง-นายอย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูผาเทิบ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูพาน
-
อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสระดอกบัว
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ตะไคร้
-
อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
-
อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
-
อุทยานแห่งชาติ รามคำแหง
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
-
อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงใหม่
-
มุกดาหาร
-
พิษณุโลก
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
เชียงราย
-
ลำปาง
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
เชียงราย
-
เชียงราย
-
เพชรบูรณ์
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
กำแพงเพชร
-
กำแพงเพชร, ตาก
-
ลำปาง
-
ราชบุรี
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
ลำปาง, ลำพูน
-
พะเยา
-
เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
แม่ฮ่องสอน
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
อุดรธานี, เลย, หนองคาย
-
ตาก
-
ชัยภูมิ
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา, เชียงราย
-
มุกดาหาร
-
สกลนคร, กาฬสินธุ์
-
ชัยภูมิ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ
-
เลย
-
เลย
-
ลำพูน, เชียงใหม่
-
เชียงราย, พะเยา
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
ลำปาง, ตาก
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
สุโขทัย
-
กำแพงเพชร
-
สุราษฎร์ธานี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
บุรีรัมย์
-
บุรีรัมย์
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
พะเยา, น่าน
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
ลำพูน, ลำปาง
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
แพร่
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
สุโขทัย, ลำปาง
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุตรดิตถ์
-
อุบลราชธานี
-
อุบลราชธานี
-
ชัยภูมิ
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
เพชรบูรณ์
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
พิษณุโลก
-
บึงกาฬ
-
กาฬสินธุ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
ตาก
-
ราชบุรี
-
แม่ฮ่องสอน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุบลราชธานี
-
แพร่, อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
พะเยา
-
กาญจนบุรี
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
สุรินทร์
-
สุรินทร์
-
ศรีสะเกษ
-
ศรีสะเกษ
-
เชียงใหม่
-
ตาก
-
ลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ใบเหียงมีรสฝาด ตำรายาไทยจะใช้ใบเหียงนำมาต้มผสมกับน้ำเกลือ ใช้อมแก้ปวดฟัน แก้ฟันโยกคลอน เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ตาลขโมย ช่วยขับเสมหะ เปลือกต้นนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ท้องเสีย เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาแก้บิด ช่วยขับปัสสาวะ ช่วยรักษาแผลในทางเดินปัสสาวะ น้ำมันยางใช้เป็นยาแก้ตกขาวของสตรี ใบและยาง มีรสฝาดร้อน ใช้กินเป็นยาตัดลูกหรือทำให้ไม่มีบุตร ใช้เป็นยาสมานแผล แก้หนอง น้ำมันใช้เป็นยาทารักษาแผลภายนอก
ที่มาของข้อมูล
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
พืชสมุนไพร ป่าชุมชนตะลุมพุก, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่รอบป่ามรดกโลก "ดงพญาเย็น-เขาใหญ่" ฝั่งตะวันออก, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช