ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
น่าน
-
สระบุรี
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
-
กาญจนบุรี
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณเขาดอยติ้ว ตำบลศรีภูมิ อำเภอท่าวังผา
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกสามหลั่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูงได้ถึง 20 ม. ตามกิ่งก้านอ่อนปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ลักษณะใบเป็นแบบใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่กว้าง รูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3–10 ซม. ยาว 6.5–21.5 ซม. โคนใบมนหรือคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ใบหนาคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น เส้นใบข้างละ 8–20 เส้น ก้านใบยาว 4–13 มม.
-
มีลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูงได้ถึง 20 ม. ตามกิ่งก้านอ่อนปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ลักษณะใบเป็นแบบใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่กว้าง รูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3–10 ซม. ยาว 6.5–21.5 ซม. โคนใบมนหรือคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ใบหนาคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น เส้นใบข้างละ 8–20 เส้น ก้านใบยาว 4–13 มม.
-
มีลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูงได้ถึง 20 ม. ตามกิ่งก้านอ่อนปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ลักษณะใบเป็นแบบใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่กว้าง รูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3–10 ซม. ยาว 6.5–21.5 ซม. โคนใบมนหรือคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ใบหนาคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น เส้นใบข้างละ 8–20 เส้น ก้านใบยาว 4–13 มม.
-
มีลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูงได้ถึง 20 ม. ตามกิ่งก้านอ่อนปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ลักษณะใบเป็นแบบใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่กว้าง รูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3–10 ซม. ยาว 6.5–21.5 ซม. โคนใบมนหรือคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ใบหนาคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น เส้นใบข้างละ 8–20 เส้น ก้านใบยาว 4–13 มม.
-
มีลักษณะเป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีความสูงได้ถึง 20 ม. ตามกิ่งก้านอ่อนปกคลุมด้วยขนสั้นนุ่ม ลักษณะใบเป็นแบบใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่กว้าง รูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 3–10 ซม. ยาว 6.5–21.5 ซม. โคนใบมนหรือคล้ายรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ ปลายใบแหลมหรือเรียวแหลม ใบหนาคล้ายหนัง ผิวใบด้านบนเกลี้ยง ผิวใบด้านล่างมีขนแน่น เส้นใบข้างละ 8–20 เส้น ก้านใบยาว 4–13 มม.
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพราะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพราะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพราะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพราะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
-
1. การเพราะเมล็ด
2. การตอนกิ่ง
2. การตอนกิ่ง
ที่มาของข้อมูล
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช