ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15-20 เมตร ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปขอบขนานถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง3-4.5 ซม. ยาว10-14 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว2-5 ซม. ดอก เป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง5กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว2 มม. กลีบดอก5กลีบ รูปไข่กลับแคบ ยาว3-5 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน ผล แห้งปีกเดียว มี 2 อันติดกัน
-
ไม้ต้น สูงได้ถึงประมาณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5–17 ซม. โคนกลมหรือรูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 6–7 เส้น เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้านใบยาว 2–5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1–2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพูตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยาวประมาณ 7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยาว 1.5–2.5 ซม. กางออกกว้าง
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15-20 เมตร ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปขอบขนานถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง3-4.5 ซม. ยาว10-14 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว2-5 ซม. ดอก เป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง5กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว2 มม. กลีบดอก5กลีบ รูปไข่กลับแคบ ยาว3-5 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน ผล แห้งปีกเดียว มี 2 อันติดกัน
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15-20 เมตร ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปขอบขนานถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง3-4.5 ซม. ยาว10-14 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว2-5 ซม. ดอก เป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง5กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว2 มม. กลีบดอก5กลีบ รูปไข่กลับแคบ ยาว3-5 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน ผล แห้งปีกเดียว มี 2 อันติดกัน
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15-20 เมตร ใบ เดี่ยวเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปขอบขนานถึงรูปไข่แกมรูปขอบขนาน กว้าง3-4.5 ซม. ยาว10-14 ซม. ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบยาว2-5 ซม. ดอก เป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง5กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว2 มม. กลีบดอก5กลีบ รูปไข่กลับแคบ ยาว3-5 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน ผล แห้งปีกเดียว มี 2 อันติดกัน
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตามป่าดิบเขาหรือดิบแล้งบริเวณริมแม่น้ำ ที่ระดับความสูง 200-1,300 เมตร
-
พบตามป่าดิบเขาหรือดิบแล้งบริเวณริมแม่น้ำ ที่ระดับความสูง 200-1,300 เมตร
-
พบตามป่าดิบเขาหรือดิบแล้งบริเวณริมแม่น้ำ ที่ระดับความสูง 200-1,300 เมตร
-
พบตามป่าดิบเขาหรือดิบแล้งบริเวณริมแม่น้ำ ที่ระดับความสูง 200-1,300 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึงประมาณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ รูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพู ตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยาวประมาณ 7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยาว 1.5-2.5 ซม. กางออกกว้างพบที่อินเดีย ปากีสถาน ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ใน ไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
-
ไม้ต้น สูงได้ถึงประมาณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ รูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพู ตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยาวประมาณ 7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยาว 1.5-2.5 ซม. กางออกกว้างพบที่อินเดีย ปากีสถาน ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ใน ไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
-
ไม้ต้น สูงได้ถึงประมาณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ รูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพู ตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยาวประมาณ 7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยาว 1.5-2.5 ซม. กางออกกว้างพบที่อินเดีย ปากีสถาน ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ใน ไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
-
ไม้ต้น สูงได้ถึงประมาณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ รูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพู ตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยาวประมาณ 7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยาว 1.5-2.5 ซม. กางออกกว้างพบที่อินเดีย ปากีสถาน ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ใน ไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
-
ไม้ต้น สูงได้ถึงประมาณ 20 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. โคนกลมหรือ รูปลิ่ม แผ่นใบด้านล่างมีนวล เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น เส้นโคนใบโค้งไม่ถึงกึ่งกลางแผ่นใบ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ยาวไม่เกิน 10 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ดอกสีเหลืองอมเขียว กลีบรูปไข่กลับ จานฐานดอกจักเป็นพู ตื้น ๆ อยู่ด้านนอกวงเกสรเพศผู้ รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี นูนชัดเจน ยาวประมาณ 7 มม. ผนังด้านในมีขนยาวหนาแน่น ปีกยาว 1.5-2.5 ซม. กางออกกว้างพบที่อินเดีย ปากีสถาน ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ใน ไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
-
1. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
จันทบุรี
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
จันทบุรี
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
-
อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกห้วยยาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2017)
ที่มาของข้อมูล