ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือค่อนข้างกลม ปลายแยกเป็น 2 แฉก ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ มี 3-10 ดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบพาย ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว รูปขอบขนาน ฝักแบน รูปแถบ ยาวประมาณ 10 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
-
ไม้พุ่ม กิ่งอ่อนมีขน ใบรูปไข่ ใบแยกเป็น 2 แฉก แต่ละแฉก ปลายแหลม ผิวบนหยาบด้านท้องใบมีขนอ่อน สีน้ำตาล มีหูใบ ดอกเป็นช่อออกด้านข้างหรือที่ยอด มีใบประดับ กลีบเลี้ยงเป็นแผ่น กลีบดอกสีขาว ผลเป็นฝักภายในมีเมล็ดแบน
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือค่อนข้างกลม ปลายแยกเป็น 2 แฉก ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ มี 3-10 ดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบพาย ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว รูปขอบขนาน ฝักแบน รูปแถบ ยาวประมาณ 10 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือค่อนข้างกลม ปลายแยกเป็น 2 แฉก ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ มี 3-10 ดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบพาย ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว รูปขอบขนาน ฝักแบน รูปแถบ ยาวประมาณ 10 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
-
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือค่อนข้างกลม ปลายแยกเป็น 2 แฉก ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ มี 3-10 ดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบพาย ยาวประมาณ 2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว รูปขอบขนาน ฝักแบน รูปแถบ ยาวประมาณ 10 ซม. ออกดอกเดือน เม.ย.-มิ.ย.
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
การกระจายพันธุ์ :
-
มีถิ่นกำเนิดในป่าเมืองร้อนของหลายประเทศตั้งแต่ไทย ลาว พม่า กัมพูชา มาเลเซีย อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ฯลฯ
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กาหลงเป็นไม้พุ่มกลม ขนาดกลางจนถึงเล็ก ความสูงอยู่ที่ 2-4 เมตร ด้วยความสูงและทรงพุ่มกลมๆ นี่เอง นักจัดสวนมักจะเลือกกาหลงมาปลูกคลุมโคนไม้ประธานที่ไม่อยากให้โคนต้นโล่งๆ แต่ข้อเสียอย่างหนึ่งของกาหลงก็คือ เป็นต้นไม้ที่ผลัดใบ ช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงธันวาคมก็จะเริ่มทิ้งใบให้เห็น แล้วจะเริ่มแตกใบอ่อนออกมาอีกครั้งในช่วงเดือนเมษายนจนถึงพฤษภาคม พอฝนลงก็จะเริ่มออกดอก อีกอย่างหนึ่งคือ กิ่งของกาหลงจะค่อนข้างเปราะหักง่าย กิ่งที่เป็นยอดอ่อนจะมีขนอ่อนขึ้นปกคลุม แต่พอกิ่งเริ่มแก่ขนก็จะหายไปเหลือแต่กิ่งเกลี้ยงๆ
-
กาหลงเป็นไม้พุ่มกลม ขนาดกลางจนถึงเล็ก ความสูงอยู่ที่ 2-4 เมตร ด้วยความสูงและทรงพุ่มกลมๆ นี่เอง นักจัดสวนมักจะเลือกกาหลงมาปลูกคลุมโคนไม้ประธานที่ไม่อยากให้โคนต้นโล่งๆ แต่ข้อเสียอย่างหนึ่งของกาหลงก็คือ เป็นต้นไม้ที่ผลัดใบ ช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงธันวาคมก็จะเริ่มทิ้งใบให้เห็น แล้วจะเริ่มแตกใบอ่อนออกมาอีกครั้งในช่วงเดือนเมษายนจนถึงพฤษภาคม พอฝนลงก็จะเริ่มออกดอก อีกอย่างหนึ่งคือ กิ่งของกาหลงจะค่อนข้างเปราะหักง่าย กิ่งที่เป็นยอดอ่อนจะมีขนอ่อนขึ้นปกคลุม แต่พอกิ่งเริ่มแก่ขนก็จะหายไปเหลือแต่กิ่งเกลี้ยงๆ
-
กาหลงเป็นไม้พุ่มกลม ขนาดกลางจนถึงเล็ก ความสูงอยู่ที่ 2-4 เมตร ด้วยความสูงและทรงพุ่มกลมๆ นี่เอง นักจัดสวนมักจะเลือกกาหลงมาปลูกคลุมโคนไม้ประธานที่ไม่อยากให้โคนต้นโล่งๆ แต่ข้อเสียอย่างหนึ่งของกาหลงก็คือ เป็นต้นไม้ที่ผลัดใบ ช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงธันวาคมก็จะเริ่มทิ้งใบให้เห็น แล้วจะเริ่มแตกใบอ่อนออกมาอีกครั้งในช่วงเดือนเมษายนจนถึงพฤษภาคม พอฝนลงก็จะเริ่มออกดอก อีกอย่างหนึ่งคือ กิ่งของกาหลงจะค่อนข้างเปราะหักง่าย กิ่งที่เป็นยอดอ่อนจะมีขนอ่อนขึ้นปกคลุม แต่พอกิ่งเริ่มแก่ขนก็จะหายไปเหลือแต่กิ่งเกลี้ยงๆ
-
กาหลงเป็นไม้พุ่มกลม ขนาดกลางจนถึงเล็ก ความสูงอยู่ที่ 2-4 เมตร ด้วยความสูงและทรงพุ่มกลมๆ นี่เอง นักจัดสวนมักจะเลือกกาหลงมาปลูกคลุมโคนไม้ประธานที่ไม่อยากให้โคนต้นโล่งๆ แต่ข้อเสียอย่างหนึ่งของกาหลงก็คือ เป็นต้นไม้ที่ผลัดใบ ช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงธันวาคมก็จะเริ่มทิ้งใบให้เห็น แล้วจะเริ่มแตกใบอ่อนออกมาอีกครั้งในช่วงเดือนเมษายนจนถึงพฤษภาคม พอฝนลงก็จะเริ่มออกดอก อีกอย่างหนึ่งคือ กิ่งของกาหลงจะค่อนข้างเปราะหักง่าย กิ่งที่เป็นยอดอ่อนจะมีขนอ่อนขึ้นปกคลุม แต่พอกิ่งเริ่มแก่ขนก็จะหายไปเหลือแต่กิ่งเกลี้ยงๆ
-
กาหลงเป็นไม้พุ่มกลม ขนาดกลางจนถึงเล็ก ความสูงอยู่ที่ 2-4 เมตร ด้วยความสูงและทรงพุ่มกลมๆ นี่เอง นักจัดสวนมักจะเลือกกาหลงมาปลูกคลุมโคนไม้ประธานที่ไม่อยากให้โคนต้นโล่งๆ แต่ข้อเสียอย่างหนึ่งของกาหลงก็คือ เป็นต้นไม้ที่ผลัดใบ ช่วงเดือนพฤศจิกายนจนถึงธันวาคมก็จะเริ่มทิ้งใบให้เห็น แล้วจะเริ่มแตกใบอ่อนออกมาอีกครั้งในช่วงเดือนเมษายนจนถึงพฤษภาคม พอฝนลงก็จะเริ่มออกดอก อีกอย่างหนึ่งคือ กิ่งของกาหลงจะค่อนข้างเปราะหักง่าย กิ่งที่เป็นยอดอ่อนจะมีขนอ่อนขึ้นปกคลุม แต่พอกิ่งเริ่มแก่ขนก็จะหายไปเหลือแต่กิ่งเกลี้ยงๆ
การขยายพันธุ์ :
-
1. การตอนกิ่ง
2. กาารเพาะเมล็ด
2. กาารเพาะเมล็ด
-
1. การตอนกิ่ง
2. กาารเพาะเมล็ด
2. กาารเพาะเมล็ด
-
1. การตอนกิ่ง
2. กาารเพาะเมล็ด
2. กาารเพาะเมล็ด
-
1. การตอนกิ่ง
2. กาารเพาะเมล็ด
2. กาารเพาะเมล็ด
-
1. การตอนกิ่ง
2. กาารเพาะเมล็ด
2. กาารเพาะเมล็ด
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ต้นกาหลงนิยมนำมาใช้ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งในบริเวณอาคารบ้านเรือน และใช้ปลูกตามที่สาธารณะ มีดอกสีขาวสวยงามและมีกลิ่นหอม ดอกสามารถใช้รับประทานได้ และชาวเขาจะนิยมใช้ยอดอ่อนมารับประทา
-
ต้นกาหลงนิยมนำมาใช้ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งในบริเวณอาคารบ้านเรือน และใช้ปลูกตามที่สาธารณะ มีดอกสีขาวสวยงามและมีกลิ่นหอม ดอกสามารถใช้รับประทานได้ และชาวเขาจะนิยมใช้ยอดอ่อนมารับประทา
-
ต้นกาหลงนิยมนำมาใช้ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งในบริเวณอาคารบ้านเรือน และใช้ปลูกตามที่สาธารณะ มีดอกสีขาวสวยงามและมีกลิ่นหอม ดอกสามารถใช้รับประทานได้ และชาวเขาจะนิยมใช้ยอดอ่อนมารับประทา
-
ต้นกาหลงนิยมนำมาใช้ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งในบริเวณอาคารบ้านเรือน และใช้ปลูกตามที่สาธารณะ มีดอกสีขาวสวยงามและมีกลิ่นหอม ดอกสามารถใช้รับประทานได้ และชาวเขาจะนิยมใช้ยอดอ่อนมารับประทา
-
ต้นกาหลงนิยมนำมาใช้ปลูกเป็นไม้ประดับกลางแจ้งในบริเวณอาคารบ้านเรือน และใช้ปลูกตามที่สาธารณะ มีดอกสีขาวสวยงามและมีกลิ่นหอม ดอกสามารถใช้รับประทานได้ และชาวเขาจะนิยมใช้ยอดอ่อนมารับประทา
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช