ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นเป็นกอ สูง 2-4 ม. กิ่งก้านสีเขียว มีหนามแข็งโค้ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้างแกมรี ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน แผ่นใบสีเขียวเข้ม เนื้อใบค่อนข้างหนา ดอกสีขาว ออกเป็นช่อคล้ายร่มตามซอกใบใกล้ยอด ดอกย่อยมี 9-17 ดอก ก้านดอกเรียวเล็ก ยาว 2-3 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปรี กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหลุดร่วงง่าย เกสรผู้ยาวมีจำนวนมาก ผลสีเขียว เมื่อแก่สีม่วงดำ ทรงกลม ขนาด 8-10 มม. เมล็ดมี 1 เมล็ด
-
ไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นเป็นกอ สูง 2-4 ม. กิ่งก้านสีเขียว มีหนามแข็งโค้ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้างแกมรี ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน แผ่นใบสีเขียวเข้ม เนื้อใบค่อนข้างหนา ดอกสีขาว ออกเป็นช่อคล้ายร่มตามซอกใบใกล้ยอด ดอกย่อยมี 9-17 ดอก ก้านดอกเรียวเล็ก ยาว 2-3 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปรี กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหลุดร่วงง่าย เกสรผู้ยาวมีจำนวนมาก ผลสีเขียว เมื่อแก่สีม่วงดำ ทรงกลม ขนาด 8-10 มม. เมล็ดมี 1 เมล็ด
-
ไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นเป็นกอ สูง 2-4 ม. กิ่งก้านสีเขียว มีหนามแข็งโค้ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้างแกมรี ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน แผ่นใบสีเขียวเข้ม เนื้อใบค่อนข้างหนา ดอกสีขาว ออกเป็นช่อคล้ายร่มตามซอกใบใกล้ยอด ดอกย่อยมี 9-17 ดอก ก้านดอกเรียวเล็ก ยาว 2-3 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปรี กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหลุดร่วงง่าย เกสรผู้ยาวมีจำนวนมาก ผลสีเขียว เมื่อแก่สีม่วงดำ ทรงกลม ขนาด 8-10 มม. เมล็ดมี 1 เมล็ด
-
ไม้พุ่มเลื้อย ขึ้นเป็นกอ สูง 2-4 ม. กิ่งก้านสีเขียว มีหนามแข็งโค้ง ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่กว้างแกมรี ขนาดกว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. โคนและปลายใบมน แผ่นใบสีเขียวเข้ม เนื้อใบค่อนข้างหนา ดอกสีขาว ออกเป็นช่อคล้ายร่มตามซอกใบใกล้ยอด ดอกย่อยมี 9-17 ดอก ก้านดอกเรียวเล็ก ยาว 2-3 ซม. กลีบรองดอกสีเขียว รูปรี กลีบดอก 4 กลีบ รูปขอบขนานหลุดร่วงง่าย เกสรผู้ยาวมีจำนวนมาก ผลสีเขียว เมื่อแก่สีม่วงดำ ทรงกลม ขนาด 8-10 มม. เมล็ดมี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ตามป่าละเมาะและภูเขาหินปูน ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 700 ม. ในประเทศไทยพบทุกภาค ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-สิงหาคม
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ตามป่าละเมาะและภูเขาหินปูน ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 700 ม. ในประเทศไทยพบทุกภาค ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-สิงหาคม
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ตามป่าละเมาะและภูเขาหินปูน ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 700 ม. ในประเทศไทยพบทุกภาค ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-สิงหาคม
-
พบทั่วไปในเขตร้อนของทวีปเอเชีย ตามป่าละเมาะและภูเขาหินปูน ที่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึงระดับความสูง 700 ม. ในประเทศไทยพบทุกภาค ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-สิงหาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แพร่
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ตาก
-
ตาก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง