ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้นขนาดกว้าง สูง 4-15 ม. ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 1.5-6.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. โคนใบสอบแคบและเบี้ยวเล็กน้อย ปลายใบเรียวแหลม ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปไข่ปลายแหลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปค่อนข้างกลมหรือรี ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. เกสรผู้สีม่วงมีจำนวนมาก ผลสีเทานวล รูปรี กว้าง 1.5-4.5 ซม. ยาว 2-6 ซม. เปลือกหนา ผิวขรุขระและเป็นขุย เมล็ดจำนวนมากสีน้ำตาลเข้ม รูปเกือกม้า
-
ไม้ยืนต้นขนาดกว้าง สูง 4-15 ม. ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 1.5-6.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. โคนใบสอบแคบและเบี้ยวเล็กน้อย ปลายใบเรียวแหลม ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปไข่ปลายแหลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปค่อนข้างกลมหรือรี ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. เกสรผู้สีม่วงมีจำนวนมาก ผลสีเทานวล รูปรี กว้าง 1.5-4.5 ซม. ยาว 2-6 ซม. เปลือกหนา ผิวขรุขระและเป็นขุย เมล็ดจำนวนมากสีน้ำตาลเข้ม รูปเกือกม้า
-
ไม้ยืนต้นขนาดกว้าง สูง 4-15 ม. ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 1.5-6.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. โคนใบสอบแคบและเบี้ยวเล็กน้อย ปลายใบเรียวแหลม ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปไข่ปลายแหลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปค่อนข้างกลมหรือรี ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. เกสรผู้สีม่วงมีจำนวนมาก ผลสีเทานวล รูปรี กว้าง 1.5-4.5 ซม. ยาว 2-6 ซม. เปลือกหนา ผิวขรุขระและเป็นขุย เมล็ดจำนวนมากสีน้ำตาลเข้ม รูปเกือกม้า
-
ไม้ยืนต้นขนาดกว้าง สูง 4-15 ม. ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อย 3 ใบ รูปหอกหรือรูปขอบขนาน กว้าง 1.5-6.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. โคนใบสอบแคบและเบี้ยวเล็กน้อย ปลายใบเรียวแหลม ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอ่อน ออกเป็นช่อที่ปลายยอด กลีบรองดอก 4 กลีบ รูปไข่ปลายแหลม กลีบดอก 4 กลีบ รูปค่อนข้างกลมหรือรี ขนาดกว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 1.5-3 ซม. เกสรผู้สีม่วงมีจำนวนมาก ผลสีเทานวล รูปรี กว้าง 1.5-4.5 ซม. ยาว 2-6 ซม. เปลือกหนา ผิวขรุขระและเป็นขุย เมล็ดจำนวนมากสีน้ำตาลเข้ม รูปเกือกม้า
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย จนถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบขึ้นทุกภาค ตามริมธารน้ำบริเวณป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 30-700 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-กันยายน
-
จากอินเดีย จนถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบขึ้นทุกภาค ตามริมธารน้ำบริเวณป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 30-700 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-กันยายน
-
จากอินเดีย จนถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบขึ้นทุกภาค ตามริมธารน้ำบริเวณป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 30-700 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-กันยายน
-
จากอินเดีย จนถึงภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบขึ้นทุกภาค ตามริมธารน้ำบริเวณป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 30-700 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนธันวาคม-กันยายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลน้อย
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลสาบสงขลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทะเลหลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
-
ยโสธร,อำนาจเจริญ,อุบลราชธานี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กุ่มน้ำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Crateva magna เป็นพืชในวงศ์ Capparidaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบแห้งสีออกแดง ดอกช่อ กลีบสีขาวแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลสีนวล มีเมล็ดมาก สีน้ำตาลเข้มรูปเกือกม้า เปลือกต้น เปลือกรากและกิ่งอ่อนถูกผิวหนังแล้วทำให้คัน รับประทานเข้าไปทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-
กุ่มน้ำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Crateva magna เป็นพืชในวงศ์ Capparidaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบแห้งสีออกแดง ดอกช่อ กลีบสีขาวแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลสีนวล มีเมล็ดมาก สีน้ำตาลเข้มรูปเกือกม้า เปลือกต้น เปลือกรากและกิ่งอ่อนถูกผิวหนังแล้วทำให้คัน รับประทานเข้าไปทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-
กุ่มน้ำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Crateva magna เป็นพืชในวงศ์ Capparidaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบแห้งสีออกแดง ดอกช่อ กลีบสีขาวแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลสีนวล มีเมล็ดมาก สีน้ำตาลเข้มรูปเกือกม้า เปลือกต้น เปลือกรากและกิ่งอ่อนถูกผิวหนังแล้วทำให้คัน รับประทานเข้าไปทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-
กุ่มน้ำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Crateva magna เป็นพืชในวงศ์ Capparidaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบแห้งสีออกแดง ดอกช่อ กลีบสีขาวแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลสีนวล มีเมล็ดมาก สีน้ำตาลเข้มรูปเกือกม้า เปลือกต้น เปลือกรากและกิ่งอ่อนถูกผิวหนังแล้วทำให้คัน รับประทานเข้าไปทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-
กุ่มน้ำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Crateva magna เป็นพืชในวงศ์ Capparidaceae เป็นไม้ยืนต้น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบแห้งสีออกแดง ดอกช่อ กลีบสีขาวแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง ผลสีนวล มีเมล็ดมาก สีน้ำตาลเข้มรูปเกือกม้า เปลือกต้น เปลือกรากและกิ่งอ่อนถูกผิวหนังแล้วทำให้คัน รับประทานเข้าไปทำให้ปวดศีรษะ อาเจียน กล้ามเนื้ออ่อนแรง
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การตอนกิ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พัทลุง, นครศรีธรรมราช
-
สงขลา, พัทลุง
-
พัทลุง, สงขลา
-
พะเยา, น่าน
-
แม่ฮ่องสอน
-
อุตรดิตถ์
-
อุตรดิตถ์
-
แม่ฮ่องสอน
-
พะเยา
-
ชุมพร
-
ตาก
-
พื้นที่ลุ่มน้ำลำเซบาย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
ป่าทามลำเซบาย, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สมาคมภูมินิเวศพัฒนาอย่างยั่งยืน, 2559
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน (Inland Water Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช