ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร ยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และผลอ่อน มี เกล็ดสีเทาเป็นแผ่นเล็กปกคลุม ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปใบ หอก กว้าง 5-10 ซม. ยาว 9-30 ซม. โคนใบมีต่อมเล็กๆ 1 คู่ ดอก ออกเป็นช่อ แยกเพศอยู่รวมต้นหรือต่างต้น ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 2 ซม. กลีบ ดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง ยาว 2 มม. มีขนแน่น เกสรเพศผู้ 12 อัน เกลี้ยง ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ขนาดเล็ก ผล เป็นผลแห้ง รูปค่อน ข้างกลม มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. แตกเป็น 3 ซีก
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร ยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และผลอ่อน มี เกล็ดสีเทาเป็นแผ่นเล็กปกคลุม ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปใบ หอก กว้าง 5-10 ซม. ยาว 9-30 ซม. โคนใบมีต่อมเล็กๆ 1 คู่ ดอก ออกเป็นช่อ แยกเพศอยู่รวมต้นหรือต่างต้น ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 2 ซม. กลีบ ดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง ยาว 2 มม. มีขนแน่น เกสรเพศผู้ 12 อัน เกลี้ยง ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ขนาดเล็ก ผล เป็นผลแห้ง รูปค่อน ข้างกลม มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. แตกเป็น 3 ซีก
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร ยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และผลอ่อน มี เกล็ดสีเทาเป็นแผ่นเล็กปกคลุม ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปใบ หอก กว้าง 5-10 ซม. ยาว 9-30 ซม. โคนใบมีต่อมเล็กๆ 1 คู่ ดอก ออกเป็นช่อ แยกเพศอยู่รวมต้นหรือต่างต้น ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 2 ซม. กลีบ ดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง ยาว 2 มม. มีขนแน่น เกสรเพศผู้ 12 อัน เกลี้ยง ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ขนาดเล็ก ผล เป็นผลแห้ง รูปค่อน ข้างกลม มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. แตกเป็น 3 ซีก
-
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 4-10 เมตร ยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และผลอ่อน มี เกล็ดสีเทาเป็นแผ่นเล็กปกคลุม ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานถึงรูปใบ หอก กว้าง 5-10 ซม. ยาว 9-30 ซม. โคนใบมีต่อมเล็กๆ 1 คู่ ดอก ออกเป็นช่อ แยกเพศอยู่รวมต้นหรือต่างต้น ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 2 ซม. กลีบ ดอก 5 กลีบ เรียงสลับกับกลีบเลี้ยง ยาว 2 มม. มีขนแน่น เกสรเพศผู้ 12 อัน เกลี้ยง ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยงและกลีบดอก ขนาดเล็ก ผล เป็นผลแห้ง รูปค่อน ข้างกลม มี 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. แตกเป็น 3 ซีก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ที่ความสูงไม่เกิน 950 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ติดผลเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ที่ความสูงไม่เกิน 950 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ติดผลเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ที่ความสูงไม่เกิน 950 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ติดผลเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบทั่วไปตามป่าผลัดใบ ที่ความสูงไม่เกิน 950 เมตร ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน ติดผลเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
เทือกเขาห้วยตูน อ.ร้องกวาง แพร่ และ เขาดอยติ้ว อ.ท่าวังผา น่าน
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
แพร่,น่าน
-
พะเยา,น่าน
-
เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
ตาก
-
พะเยา, เชียงราย
-
พะเยา, เชียงราย
-
ลพบุรี
-
พะเยา
-
ลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร,เชื้อเพลิง,ต้นใช้เลี้ยงคลั่ง เปลือกใช้เป็นยาแก้ไข้ ตับอักเสบ แก้ปวดข้อและปวดเมื่อยตามร่างกาย
ที่มาของข้อมูล
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศภูเขา (Mountain Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
ป่าชุมชน บ.ทุ่ง ต.แจ้ซ้อน อ.เมืองปาน
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช