ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบข้อ 3-4 ใบ รูปหอกกลับ กว้าง 3-10 ซม. ยาว 6-28 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ดอก สีขาว ออกเป็นช่อ แขนงที่ปลายยอด ยาว 3.5-11.5 ซม. ดอกย่อยสีขาว ขนาด 2-3 ซม. ส่วนโคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นท่อ ปลายแยก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ผล เป็นฝักยาวคล้ายหลอด ออกเป็นคู่ ยาว 30-45 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก รูปขอบขนาน มีขนปกคลุม เมล็ดเป็นแผ่นบางมีปีกสั้น
- ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบข้อ 3-4 ใบ รูปหอกกลับ กว้าง 3-10 ซม. ยาว 6-28 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ดอก สีขาว ออกเป็นช่อ แขนงที่ปลายยอด ยาว 3.5-11.5 ซม. ดอกย่อยสีขาว ขนาด 2-3 ซม. ส่วนโคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นท่อ ปลายแยก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ผล เป็นฝักยาวคล้ายหลอด ออกเป็นคู่ ยาว 30-45 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก รูปขอบขนาน มีขนปกคลุม เมล็ดเป็นแผ่นบางมีปีกสั้น
- ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบข้อ 3-4 ใบ รูปหอกกลับ กว้าง 3-10 ซม. ยาว 6-28 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ดอก สีขาว ออกเป็นช่อ แขนงที่ปลายยอด ยาว 3.5-11.5 ซม. ดอกย่อยสีขาว ขนาด 2-3 ซม. ส่วนโคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นท่อ ปลายแยก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ผล เป็นฝักยาวคล้ายหลอด ออกเป็นคู่ ยาว 30-45 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก รูปขอบขนาน มีขนปกคลุม เมล็ดเป็นแผ่นบางมีปีกสั้น
- ไม้ยืนต้น สูงได้ถึง 20 เมตร ทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบ เดี่ยว เรียงเวียนรอบข้อ 3-4 ใบ รูปหอกกลับ กว้าง 3-10 ซม. ยาว 6-28 ซม. ขอบใบเรียบ ปลายใบเป็นติ่งแหลม ดอก สีขาว ออกเป็นช่อ แขนงที่ปลายยอด ยาว 3.5-11.5 ซม. ดอกย่อยสีขาว ขนาด 2-3 ซม. ส่วนโคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นท่อ ปลายแยก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ผล เป็นฝักยาวคล้ายหลอด ออกเป็นคู่ ยาว 30-45 ซม. เมื่อแก่แตกเป็น 2 ซีก รูปขอบขนาน มีขนปกคลุม เมล็ดเป็นแผ่นบางมีปีกสั้น
การกระจายพันธุ์ :
- อินเดีย เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และนิวกีนี ประเทศไทยพบในป่าดิบ ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
- อินเดีย เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และนิวกีนี ประเทศไทยพบในป่าดิบ ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
- อินเดีย เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และนิวกีนี ประเทศไทยพบในป่าดิบ ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
- อินเดีย เอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และนิวกีนี ประเทศไทยพบในป่าดิบ ออกดอกและติดผล ช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- พื้นที่ชุ่มน้ำพรุควนขี้เสียน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
- อุทยานแห่งชาติ ทะเลบัน
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- อุทยานแห่งชาติ หมู่เกาะชุมพร
- อุทยานแห่งชาติ หาดขนอม-หมู่เกาะทะเลใต้
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาประ-บางคราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- ป่าทุ่งระยะและป่านาสัก ชุมพร, ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- - ต้นทุ้งฟ้า : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลา ตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้นเป็นวงรอบ เรือนยอดรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีขาวอมเทา หรือสีเทาอ่อน มีรูระบายอากาศทั่วไป เปลือกเรียบ สับดูจะมียางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา โคนต้นเป็นพูพอน
- ใบ : เป็นชนิดใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปหอกกลับ ออกเรียงเวียนกันเป็นวงตามปลาย ๆ กิ่ง ท้องใบเป็นคราบสีขาว หลับใบสีเขียว เส้นแขนงใบถี่และเป็นเส้นตรง
- ดอก : สีขาว ออกเป็นช่อตามง่ามใบตอนปลาย ๆ กิ่ง
- ผล : ออกเป็นฝัก เรียว ยาว มีเป็นคู่ ๆ พอแก่จะแตกและบิดเป็นเกลียว ปล่อยให้เมล็ดที่มีพู่สีขาวปลิวไปตามลม
- - ต้นทุ้งฟ้า : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลา ตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้นเป็นวงรอบ เรือนยอดรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีขาวอมเทา หรือสีเทาอ่อน มีรูระบายอากาศทั่วไป เปลือกเรียบ สับดูจะมียางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา โคนต้นเป็นพูพอน
- ใบ : เป็นชนิดใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปหอกกลับ ออกเรียงเวียนกันเป็นวงตามปลาย ๆ กิ่ง ท้องใบเป็นคราบสีขาว หลับใบสีเขียว เส้นแขนงใบถี่และเป็นเส้นตรง
- ดอก : สีขาว ออกเป็นช่อตามง่ามใบตอนปลาย ๆ กิ่ง
- ผล : ออกเป็นฝัก เรียว ยาว มีเป็นคู่ ๆ พอแก่จะแตกและบิดเป็นเกลียว ปล่อยให้เมล็ดที่มีพู่สีขาวปลิวไปตามลม
- - ต้นทุ้งฟ้า : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลา ตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้นเป็นวงรอบ เรือนยอดรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีขาวอมเทา หรือสีเทาอ่อน มีรูระบายอากาศทั่วไป เปลือกเรียบ สับดูจะมียางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา โคนต้นเป็นพูพอน
- ใบ : เป็นชนิดใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปหอกกลับ ออกเรียงเวียนกันเป็นวงตามปลาย ๆ กิ่ง ท้องใบเป็นคราบสีขาว หลับใบสีเขียว เส้นแขนงใบถี่และเป็นเส้นตรง
- ดอก : สีขาว ออกเป็นช่อตามง่ามใบตอนปลาย ๆ กิ่ง
- ผล : ออกเป็นฝัก เรียว ยาว มีเป็นคู่ ๆ พอแก่จะแตกและบิดเป็นเกลียว ปล่อยให้เมล็ดที่มีพู่สีขาวปลิวไปตามลม
- - ต้นทุ้งฟ้า : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลา ตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้นเป็นวงรอบ เรือนยอดรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีขาวอมเทา หรือสีเทาอ่อน มีรูระบายอากาศทั่วไป เปลือกเรียบ สับดูจะมียางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา โคนต้นเป็นพูพอน
- ใบ : เป็นชนิดใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปหอกกลับ ออกเรียงเวียนกันเป็นวงตามปลาย ๆ กิ่ง ท้องใบเป็นคราบสีขาว หลับใบสีเขียว เส้นแขนงใบถี่และเป็นเส้นตรง
- ดอก : สีขาว ออกเป็นช่อตามง่ามใบตอนปลาย ๆ กิ่ง
- ผล : ออกเป็นฝัก เรียว ยาว มีเป็นคู่ ๆ พอแก่จะแตกและบิดเป็นเกลียว ปล่อยให้เมล็ดที่มีพู่สีขาวปลิวไปตามลม
- - ต้นทุ้งฟ้า : เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร ไม่ผลัดใบ ลำต้นเปลา ตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลำต้นเป็นวงรอบ เรือนยอดรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง เปลือกสีขาวอมเทา หรือสีเทาอ่อน มีรูระบายอากาศทั่วไป เปลือกเรียบ สับดูจะมียางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา โคนต้นเป็นพูพอน
- ใบ : เป็นชนิดใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปหอกกลับ ออกเรียงเวียนกันเป็นวงตามปลาย ๆ กิ่ง ท้องใบเป็นคราบสีขาว หลับใบสีเขียว เส้นแขนงใบถี่และเป็นเส้นตรง
- ดอก : สีขาว ออกเป็นช่อตามง่ามใบตอนปลาย ๆ กิ่ง
- ผล : ออกเป็นฝัก เรียว ยาว มีเป็นคู่ ๆ พอแก่จะแตกและบิดเป็นเกลียว ปล่อยให้เมล็ดที่มีพู่สีขาวปลิวไปตามลม
การขยายพันธุ์ :
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
- โดยการเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สงขลา
- สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
- สตูล
- ชุมพร
- ชุมพร
- นครศรีธรรมราช, สุราษฎร์ธานี
- นครศรีธรรมราช
- ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
- กระบี่, ตรัง
- กระบี่, ตรัง
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- พังงา
- พังงา
- กาญจนบุรี, ตาก
- ตาก
- แพร่, อุตรดิตถ์
- ตาก
- ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, ระนอง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- เครื่องจักสานและเครื่องใช้สอย
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :