ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 5-10 ม. แกนใบประกอบยาว 15-20 ซม. มีต่อมบนก้านใต้รอยต่อใบประกอบย่อยช่วงล่าง ใบประกอบย่อยมี 4-10 คู่ ยาว 5-10 ซม. ใบย่อยมี 5-20 คู่ รูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 0.6-2 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีนวล ช่อแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนงแบบช่อกระจะ ก้านช่อยาว 2-5 ซม. ช่อกระจุกเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ดอกมีขนประปราย หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายจัก 5 แฉกขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 4.5-5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน ยาว 0.8-1 ซม. อับเรณูมีขน รังไข่มีก้าน ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ฝักแบนรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. มี 10-20 เมล็ด
-
ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูง ๗-๒๐ เมตร (เป็นชนิดเดียวกันกับกระถินบ้าน แต่ต่างกันเพียงสายพันธุ์ (cultivat) ปกติจะสูงน้อยกว่า ๔ เมตร) ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปขอบขนาน ยาวประมาณ ๑ เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง มีดอกเป็นช่อทรงกลมสีขาว กว้าง 6 เซนติเมตร ติดฝัก แบบรูปแถบยาว ๑๐-๒๐ เซนติเมตร กว้าง ๒ เซนติเมตร มี ๑๕-๓๐ เมล็ด/ฝัก ชอบขึ้นตามที่รกร้าง ที่เปิดโล่งทั่วไป ทั้ง ในเขตเมืองและชนบท ป่าเบญจพรรณและป่าดงดิบแล้งที่เสื่อมโทรมหรือตามชายขอบป่า และระบาดมากในบางพื้นที่อนุรักษ์ที่เคยนำเข้าไปปลูกป่า ขึ้นในพื้นที่ระดับต่ำจนถึง ๕๐๐ เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกและติดผลตลอดทั้งปี ชอบสภาพภูมิอากาศที่มีปริมาณน้ำฝน 600-2,000 มิลลิเมตร/ปี และมีช่วงฤดูแล้งที่ยาวนานมากกว่า 4 เดือน เช่น เขตประเทศไทยตอนบน ส่วนภาคใต้พบระบาดน้อย ไม่ทนทานต่อพื้นที่น้ำท่วมและดินชื้นแฉะในช่วงฤดูฝน ตอที่ถูกตัดหรือล้มสามารถแตกหน่อได้ดี การกำจัด จะต้องขุดรากถอนโคน หรือใช้สารฆ่าตอ
-
ไม้พุ่ม กึ่ง ไม้ต้นขนาดเล็ก นิยมปลูกเป็นรั้วบ้าน ใบเป็นใบรวม ใบย่อยแยกเป็นคู่ และมีขนาดเล็ก ช่อดอกกลม ดอกมีขนาดเล็ก สีนวล ฝักแบบและตรง ออกเป็นพวงจากปุ่มช่อดอก ฝักเมื่อแก่เต็มที่จะแตก เมล็ดมีสีน้ำตาลแก่ แข็ง และเป็นเงา
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 5-10 ม. แกนใบประกอบยาว 15-20 ซม. มีต่อมบนก้านใต้รอยต่อใบประกอบย่อยช่วงล่าง ใบประกอบย่อยมี 4-10 คู่ ยาว 5-10 ซม. ใบย่อยมี 5-20 คู่ รูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 0.6-2 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีนวล ช่อแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนงแบบช่อกระจะ ก้านช่อยาว 2-5 ซม. ช่อกระจุกเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ดอกมีขนประปราย หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายจัก 5 แฉกขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 4.5-5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน ยาว 0.8-1 ซม. อับเรณูมีขน รังไข่มีก้าน ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ฝักแบนรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. มี 10-20 เมล็ด
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 5-10 ม. แกนใบประกอบยาว 15-20 ซม. มีต่อมบนก้านใต้รอยต่อใบประกอบย่อยช่วงล่าง ใบประกอบย่อยมี 4-10 คู่ ยาว 5-10 ซม. ใบย่อยมี 5-20 คู่ รูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 0.6-2 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีนวล ช่อแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนงแบบช่อกระจะ ก้านช่อยาว 2-5 ซม. ช่อกระจุกเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ดอกมีขนประปราย หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายจัก 5 แฉกขนาดเล็ก กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 4.5-5 มม. เกสรเพศผู้ 10 อัน แยกกัน ยาว 0.8-1 ซม. อับเรณูมีขน รังไข่มีก้าน ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ฝักแบนรูปแถบ ยาว 15-20 ซม. มี 10-20 เมล็ด
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
-
บ้านผาสิงห์ ตำบลผาสิงห์, บ้านทุ่งเศรษฐี ตำบลผาสิงห์, บ้านธงน้อย ตำบลดู่ใต้, อำเภอเมือง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ถ้ำประทุน
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
-
อุทยานแห่งชาติ คลองลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ป่าหินงาม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ผาผึ้ง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ถิ่นกำเนิด :
-
ทวีปอเมริกาตอนกลาง,ทวีปอเมริกาใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
น่าน
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
อุทัยธานี
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
ระยอง
-
กำแพงเพชร
-
ชัยภูมิ
-
ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
-
ชัยภูมิ
-
ชัยภูมิ
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
กระถิน พืชผักสมุนไพร เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีลำต้นเดี่ยว ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ แข็งและเหนียว มีสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีสีเขียว ดอกจะเป็นช่อมีสีขาว มีผลเป็นฝัก มีลักษณะแบนยาว ผักอ่อนมีสีเขียว ฝักแก่สีน้ำตาล จะมีเมล็ดเรียงอยู่ ใช้รับประทานยอดอ่อน ฝักอ่อน เมล็ด มีรสชาติหวานมันกรอบ มีกลิ่นแรง
ลำต้น เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีลำต้นเดี่ยว ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ แข็งและเหนียว มีปุ่มนูนของกิ่งก้านที่หลุดออกไป เปลือกมีสีเทา
ลำต้น เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีลำต้นเดี่ยว ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ แข็งและเหนียว มีปุ่มนูนของกิ่งก้านที่หลุดออกไป เปลือกมีสีเทา
-
กระถิน พืชผักสมุนไพร เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีลำต้นเดี่ยว ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ แข็งและเหนียว มีสีเทา ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีสีเขียว ดอกจะเป็นช่อมีสีขาว มีผลเป็นฝัก มีลักษณะแบนยาว ผักอ่อนมีสีเขียว ฝักแก่สีน้ำตาล จะมีเมล็ดเรียงอยู่ ใช้รับประทานยอดอ่อน ฝักอ่อน เมล็ด มีรสชาติหวานมันกรอบ มีกลิ่นแรง
ลำต้น เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีลำต้นเดี่ยว ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ แข็งและเหนียว มีปุ่มนูนของกิ่งก้านที่หลุดออกไป เปลือกมีสีเทา
ลำต้น เป็นไม้ต้นขนาดเล็ก มีลำต้นเดี่ยว ทรงต้นเป็นเรือนยอด ลำต้นมีลักษณะกลมๆ แข็งและเหนียว มีปุ่มนูนของกิ่งก้านที่หลุดออกไป เปลือกมีสีเทา
-
ไม้พุ่ม/ไม้ต้นขนาดเล็ก
การกระจายพันธุ์ :
-
มีต้นกำเนิดที่ประเทศเม็กซิโก และอเมริกากลาง ปัจจุบันมีการแพร่กระจายไปทั่วอเมริกาใต้, เอเชีย, สหรัฐอเมริกาตอนใต้, ยุโรปใต้, ออสเตรเลีย, แอฟริกาและหมู่เกาะในมหาสมุทรที่มีภูมิอากาศอบอุ่น
การขยายพันธุ์ :
-
การเพาะเมล็ด
-
การเพาะเมล็ด
ระบบนิเวศ :
-
พบตามพื้นที่เกษตรกรรม ชายฝั่งทะเล ป่าธรรมชาติ ป่าปลูก ทุ่งหญ้า แหล่งชุมชนใกล้ชายฝั่งแม่น้ำลำคลอง พื้นที่ถูกรบกวน ป่าละเมาะ ชายป่า พื้นที่อยู่อาศัยในเมือง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
-
ไม้ใช้สอย
ที่มาของข้อมูล
-
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
-
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
-
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
-
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
-
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
-
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
-
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
-
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
-
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
-
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง มาตรการป้องกัน ควบคุม และกำจัด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
-
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
พิพิธภัณฑ์
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
---|---|---|---|
Dry | |||
Barcode | ชื่อพิพิธภัณฑ์ | จังหวัด | ลักษณะ |
COUNTRY CULTIVAR
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |
---|---|---|---|---|
DOATR 00002 | กระถิน | Leucaena leucocephala | ปทุมธานี | |
gsno | plantname | ชนิดพันธุ์ | ชื่อวิทยาศาสตร์ | เก็บที่จังหวัด |