ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้นสูงผลัดใบ ได้ถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ มีใบย่อย 3-5 ใบ รูปรีแกมรูปใบหอก รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 6-18 ซม. ดอก ขนาดเล็ก สีเหลืองครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย กลีบดอกรูปปากเปิด ผล เมล็ดเดียว แข็ง รูปกลม เมื่อแก่สีเหลือง
- ไม้ต้นสูงผลัดใบ ได้ถึง 15 เมตร ใบ ประกอบแบบนิ้วมือ มีใบย่อย 3-5 ใบ รูปรีแกมรูปใบหอก รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 2.5-9 ซม. ยาว 6-18 ซม. ดอก ขนาดเล็ก สีเหลืองครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย กลีบดอกรูปปากเปิด ผล เมล็ดเดียว แข็ง รูปกลม เมื่อแก่สีเหลือง
- เป็นไม้ต้น ผลัดใบ ลำต้น: สูง 5–20 ม. ลำต้นมักแตกกิ่งต่ำ เปลือกต้น: เปลือกสีน้ำตาลปนดำ ค่อนข้างเรียบ หรือแตกเป็นสะเก็ด กิ่งอ่อนมีขนนุ่มสีเหลืองอมน้ำตาล ใบ: เป็นใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ก้านช่อใบยาว 5–10 ซม. มีใบย่อย 3–5 ใบ แผ่นใบย่อยรูปรี หรือรูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 3–7 ซม. ยาว 5–13 ซม. ใบย่อยใบกลางมีขนาดใหญ่และก้านยาวกว่าใบอื่น ปลายแหลม หรือทู่ โคนแหลม ขอบเรียบ หรือจักฟันเลื่อย ผิวด้านบนมีขนเล็กน้อย ด้านล่างมีขนสีเหลืองอมน้ำตาลปกคุลมหนาแน่น และมีต่อมสีเหลืองใสกระจายอยู่ทั่วไป เส้นแขนงใบย่อย 6–14 คู่ ก้านใบย่อยยาว 0.4–2.5 ซม. ดอก: ดอกเล็ก สีขาวแกมเขียว ออกเป็นช่อแยกแขนงที่ปลายกิ่ง หรือตามง่ามใบใกล้ปลายกิ่ง ผล: ค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.8 ซม. ฝาปิดขั้วผลกว้างประมาณหนึ่งในสี่ของตัวผล ผลแก่สีเหลือง มี 1 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
- พบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.
- พบตามป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร ออกดอกเดือน มี.ค.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-25 เมตร แตกกิ่งก้านมาก กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นปกคลุม เปลือกนอกเป็นสีน้ำตาล แตกแบบรอยไถ ร่องเอียง ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตัดกิ่งปักชำ พบขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร จากระดับน้ำทะเล ทั่วประเทศของประเทศไทย ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่อินเดียและพม่า
ใบผ่าเสี้ยน ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก มีใบย่อยประมาณ 3 หรือ 5 ใบ ใบย่อยใบยอดมีขนาดใหญ่กว่าใบย่อยอื่น ๆ ส่วนใบย่อยด้านข้างมีขนาดเล็กลดหลั่นกันไป โดยใบที่อยู่ติดก้านใบจะมีขนาดเล็กที่สุด ก้านใบร่วมมีขนาดยาวประมาณ 3-8 เซนติเมตร ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่กลับ รูปไข่ หรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-20 เซนติเมตร แผ่นบางและนิ่ม มีขนทั้งสองด้าน ใบอ่อนมีขนมาก ส่วนใบแก่หลังใบจะมีขนเพียงเล็กน้อย ท้องใบมีขนอ่อนนุ่มมาก โดยเฉพาะตรงเส้นกลางใบและเส้นใบ เส้นแขนงใบย่อยมีประมาณ 6-14 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 0.4-2.5 เซนติเมตร โดยก้านใบย่อยส่วนปลายยอดจะยาวกว่าก้านใบย่อยด้านข้าง ผลัดใบในช่วงประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ดอกผ่าเสี้ยน ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงหรือช่อแบบเชิงลดประกอบ ออกเรียงตัวเป็นวงรอบของก้านดอก โดยจะออกบริเวณปลายกิ่งและซอกใบที่ร่วงไปแล้ว กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกจะแยกออกเป็น 2 ฝา ฝาบนมี 2 กลีบ ส่วนฝาล่างมี 3 กลีบ โคนกลีบดอกเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน แต่ปลายกลีบเป็นสีม่วงครามอ่อน ด้านนอกมีขน กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ที่โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบหยักเล็กน้อยเป็นแฉก 5 แฉก สีน้ำตาล ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
ผลผ่าเสี้ยน ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยวหรือผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด แต่ละผลมีเนื้อ 1-4 เมล็ด ผลมีลักษณะกลม มีขนาดประมาณ 0.6-1.5 เซนติเมตร ผลเมื่อสุกจะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลือง เมื่อแห้งจะเป็นสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลดำจนถึงสีดำ ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-25 เมตร แตกกิ่งก้านมาก กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นปกคลุม เปลือกนอกเป็นสีน้ำตาล แตกแบบรอยไถ ร่องเอียง ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตัดกิ่งปักชำ พบขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร จากระดับน้ำทะเล ทั่วประเทศของประเทศไทย ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่อินเดียและพม่า
ใบผ่าเสี้ยน ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก มีใบย่อยประมาณ 3 หรือ 5 ใบ ใบย่อยใบยอดมีขนาดใหญ่กว่าใบย่อยอื่น ๆ ส่วนใบย่อยด้านข้างมีขนาดเล็กลดหลั่นกันไป โดยใบที่อยู่ติดก้านใบจะมีขนาดเล็กที่สุด ก้านใบร่วมมีขนาดยาวประมาณ 3-8 เซนติเมตร ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่กลับ รูปไข่ หรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-20 เซนติเมตร แผ่นบางและนิ่ม มีขนทั้งสองด้าน ใบอ่อนมีขนมาก ส่วนใบแก่หลังใบจะมีขนเพียงเล็กน้อย ท้องใบมีขนอ่อนนุ่มมาก โดยเฉพาะตรงเส้นกลางใบและเส้นใบ เส้นแขนงใบย่อยมีประมาณ 6-14 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 0.4-2.5 เซนติเมตร โดยก้านใบย่อยส่วนปลายยอดจะยาวกว่าก้านใบย่อยด้านข้าง ผลัดใบในช่วงประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ดอกผ่าเสี้ยน ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงหรือช่อแบบเชิงลดประกอบ ออกเรียงตัวเป็นวงรอบของก้านดอก โดยจะออกบริเวณปลายกิ่งและซอกใบที่ร่วงไปแล้ว กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกจะแยกออกเป็น 2 ฝา ฝาบนมี 2 กลีบ ส่วนฝาล่างมี 3 กลีบ โคนกลีบดอกเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน แต่ปลายกลีบเป็นสีม่วงครามอ่อน ด้านนอกมีขน กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ที่โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบหยักเล็กน้อยเป็นแฉก 5 แฉก สีน้ำตาล ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
ผลผ่าเสี้ยน ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยวหรือผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด แต่ละผลมีเนื้อ 1-4 เมล็ด ผลมีลักษณะกลม มีขนาดประมาณ 0.6-1.5 เซนติเมตร ผลเมื่อสุกจะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลือง เมื่อแห้งจะเป็นสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลดำจนถึงสีดำ ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-25 เมตร แตกกิ่งก้านมาก กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นปกคลุม เปลือกนอกเป็นสีน้ำตาล แตกแบบรอยไถ ร่องเอียง ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตัดกิ่งปักชำ พบขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร จากระดับน้ำทะเล ทั่วประเทศของประเทศไทย ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่อินเดียและพม่า
ใบผ่าเสี้ยน ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก มีใบย่อยประมาณ 3 หรือ 5 ใบ ใบย่อยใบยอดมีขนาดใหญ่กว่าใบย่อยอื่น ๆ ส่วนใบย่อยด้านข้างมีขนาดเล็กลดหลั่นกันไป โดยใบที่อยู่ติดก้านใบจะมีขนาดเล็กที่สุด ก้านใบร่วมมีขนาดยาวประมาณ 3-8 เซนติเมตร ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่กลับ รูปไข่ หรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-20 เซนติเมตร แผ่นบางและนิ่ม มีขนทั้งสองด้าน ใบอ่อนมีขนมาก ส่วนใบแก่หลังใบจะมีขนเพียงเล็กน้อย ท้องใบมีขนอ่อนนุ่มมาก โดยเฉพาะตรงเส้นกลางใบและเส้นใบ เส้นแขนงใบย่อยมีประมาณ 6-14 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 0.4-2.5 เซนติเมตร โดยก้านใบย่อยส่วนปลายยอดจะยาวกว่าก้านใบย่อยด้านข้าง ผลัดใบในช่วงประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ดอกผ่าเสี้ยน ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงหรือช่อแบบเชิงลดประกอบ ออกเรียงตัวเป็นวงรอบของก้านดอก โดยจะออกบริเวณปลายกิ่งและซอกใบที่ร่วงไปแล้ว กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกจะแยกออกเป็น 2 ฝา ฝาบนมี 2 กลีบ ส่วนฝาล่างมี 3 กลีบ โคนกลีบดอกเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน แต่ปลายกลีบเป็นสีม่วงครามอ่อน ด้านนอกมีขน กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ที่โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบหยักเล็กน้อยเป็นแฉก 5 แฉก สีน้ำตาล ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
ผลผ่าเสี้ยน ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยวหรือผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด แต่ละผลมีเนื้อ 1-4 เมล็ด ผลมีลักษณะกลม มีขนาดประมาณ 0.6-1.5 เซนติเมตร ผลเมื่อสุกจะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลือง เมื่อแห้งจะเป็นสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลดำจนถึงสีดำ ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- จัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงประมาณ 10-25 เมตร แตกกิ่งก้านมาก กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ตามกิ่งอ่อนและยอดอ่อนมีขนสีน้ำตาลขึ้นปกคลุม เปลือกนอกเป็นสีน้ำตาล แตกแบบรอยไถ ร่องเอียง ส่วนเปลือกด้านในเป็นสีเหลืองอ่อน ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการตัดกิ่งปักชำ พบขึ้นในป่าดิบแล้ง ป่าเต็งรัง และตามป่าเบญจพรรณ ที่ระดับความสูงไม่เกิน 800 เมตร จากระดับน้ำทะเล ทั่วประเทศของประเทศไทย ส่วนในต่างประเทศพบได้ที่อินเดียและพม่า
ใบผ่าเสี้ยน ใบเป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก มีใบย่อยประมาณ 3 หรือ 5 ใบ ใบย่อยใบยอดมีขนาดใหญ่กว่าใบย่อยอื่น ๆ ส่วนใบย่อยด้านข้างมีขนาดเล็กลดหลั่นกันไป โดยใบที่อยู่ติดก้านใบจะมีขนาดเล็กที่สุด ก้านใบร่วมมีขนาดยาวประมาณ 3-8 เซนติเมตร ลักษณะของใบย่อยเป็นรูปไข่กลับ รูปไข่ หรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบมน ใบมีขนาดกว้างประมาณ 3-10 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5-20 เซนติเมตร แผ่นบางและนิ่ม มีขนทั้งสองด้าน ใบอ่อนมีขนมาก ส่วนใบแก่หลังใบจะมีขนเพียงเล็กน้อย ท้องใบมีขนอ่อนนุ่มมาก โดยเฉพาะตรงเส้นกลางใบและเส้นใบ เส้นแขนงใบย่อยมีประมาณ 6-14 คู่ ก้านใบย่อยยาวประมาณ 0.4-2.5 เซนติเมตร โดยก้านใบย่อยส่วนปลายยอดจะยาวกว่าก้านใบย่อยด้านข้าง ผลัดใบในช่วงประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์
ดอกผ่าเสี้ยน ออกดอกเป็นช่อแยกแขนงหรือช่อแบบเชิงลดประกอบ ออกเรียงตัวเป็นวงรอบของก้านดอก โดยจะออกบริเวณปลายกิ่งและซอกใบที่ร่วงไปแล้ว กลีบดอกมี 5 กลีบ โคนดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็นแฉก 5 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกจะแยกออกเป็น 2 ฝา ฝาบนมี 2 กลีบ ส่วนฝาล่างมี 3 กลีบ โคนกลีบดอกเป็นสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน แต่ปลายกลีบเป็นสีม่วงครามอ่อน ด้านนอกมีขน กลีบเลี้ยงดอกมี 5 กลีบ ที่โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายกลีบหยักเล็กน้อยเป็นแฉก 5 แฉก สีน้ำตาล ออกดอกในช่วงประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน
ผลผ่าเสี้ยน ผลเป็นผลสดเมล็ดเดี่ยวหรือผลสดมีเนื้อหลายเมล็ด แต่ละผลมีเนื้อ 1-4 เมล็ด ผลมีลักษณะกลม มีขนาดประมาณ 0.6-1.5 เซนติเมตร ผลเมื่อสุกจะเป็นสีเหลืองอมเขียวหรือสีเหลือง เมื่อแห้งจะเป็นสีน้ำตาลหรือสีน้ำตาลดำจนถึงสีดำ ผลจะแก่ในช่วงประมาณเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- ไม้ต้น
ระบบนิเวศ :
- ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณแล้ง และป่าดิบแล้ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- สระบุรี
- สระบุรี
- เพชรบุรี
- พิษณุโลก
- สงขลา
- อุตรดิตถ์
- เชียงราย
- ลำปาง
- ลำปาง
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- นครราชสีมา
- อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- เชียงราย
- เพชรบูรณ์
- อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ
- พังงา
- พังงา
- ประจวบคีรีขันธ์
- จันทบุรี
- ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- เพชรบูรณ์, พิษณุโลก
- แม่ฮ่องสอน
- สุพรรณบุรี
- เลย
- เลย
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- ชัยภูมิ
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- ลำปาง, แพร่
- ลำปาง, ตาก
- เชียงใหม่
- ตาก
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- สุโขทัย
- สุโขทัย
- แม่ฮ่องสอน
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- กำแพงเพชร
- เชียงใหม่
- ลพบุรี
- ลพบุรี
- บุรีรัมย์
- พะเยา, น่าน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- อุบลราชธานี
- ศรีสะเกษ
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- ชัยภูมิ
- เลย
- เลย
- เพชรบูรณ์
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- พิษณุโลก
- บึงกาฬ
- กาฬสินธุ์
- กาฬสินธุ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- ศรีสะเกษ
- ตาก
- ตาก
- ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแก่งคอย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขากระปุก-เขาเตาหม้อ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาพนมทอง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาเหรง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาใหญ่-เขาหน้าผาตั้งและเขาตาพรม
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอยพระบาท
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ทับพญาลอ
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเขาภูหลวง
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ภูสันเขียว
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ลุ่มน้ำปายฝั่งซ้าย
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า วังโป่ง-ชนแดน
- อุทยานแห่งชาติ ขุนแจ
- อุทยานแห่งชาติ เขาค้อ
- อุทยานแห่งชาติ เขาพระวิหาร
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ เขาลำปี-หาดท้ายเหมือง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำปลา-น้ำตกผาเสื่อ
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ถ้ำผาไท
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ทุ่งแสลงหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ พุเตย
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูกระดึง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูแลนคา
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ แม่ยม
- อุทยานแห่งชาติ แม่วะ
- อุทยานแห่งชาติ แม่วาง
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ ศรีสัชนาลัย
- อุทยานแห่งชาติ สาละวิน
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ซับลังกา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พนมดงรัก
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูวัว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูสีฐาน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง