ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- Subshrub.
- ไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งขึ้น สูง 60-120 ซม. ลำต้นเกลี้ยง ผิวมัน สีเงินหรือสีเทา มีหนามโค้งลง ยาว 0.1-1 ซม. ใบ เดี่ยว ออกแบบสลับ รูปเข็ม ยาว 1-3 ซม. กว้าง 0.8 -1 มม. ช่อดอก แบบช่อกระจะ ออกที่ซอกหนาม 3-4 ช่อ แต่ละช่อ มีดอก จำนวน 5-10 ดอก ใบประดับ รูปไข่ ยาว 0.5-1 มม. ก้านดอกยาว 1.5-2.5 มม. วงกลีบดอกสีขาว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้ 6 อัน อับเรณู สีดำ รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ 3 คาร์เพล ปลายเกสรแยกออกเป็น 3 ก้าน
- ไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งขึ้น สูง 60-120 ซม. ลำต้นเกลี้ยง ผิวมัน สีเงินหรือสีเทา มีหนามโค้งลง ยาว 0.1-1 ซม. ใบ เดี่ยว ออกแบบสลับ รูปเข็ม ยาว 1-3 ซม. กว้าง 0.8 -1 มม. ช่อดอก แบบช่อกระจะ ออกที่ซอกหนาม 3-4 ช่อ แต่ละช่อ มีดอก จำนวน 5-10 ดอก ใบประดับ รูปไข่ ยาว 0.5-1 มม. ก้านดอกยาว 1.5-2.5 มม. วงกลีบดอกสีขาว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้ 6 อัน อับเรณู สีดำ รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ 3 คาร์เพล ปลายเกสรแยกออกเป็น 3 ก้าน
- ไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งขึ้น สูง 60-120 ซม. ลำต้นเกลี้ยง ผิวมัน สีเงินหรือสีเทา มีหนามโค้งลง ยาว 0.1-1 ซม. ใบ เดี่ยว ออกแบบสลับ รูปเข็ม ยาว 1-3 ซม. กว้าง 0.8 -1 มม. ช่อดอก แบบช่อกระจะ ออกที่ซอกหนาม 3-4 ช่อ แต่ละช่อ มีดอก จำนวน 5-10 ดอก ใบประดับ รูปไข่ ยาว 0.5-1 มม. ก้านดอกยาว 1.5-2.5 มม. วงกลีบดอกสีขาว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้ 6 อัน อับเรณู สีดำ รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ 3 คาร์เพล ปลายเกสรแยกออกเป็น 3 ก้าน
- ไม้เลื้อยหรือไม้พุ่มตั้งขึ้น สูง 60-120 ซม. ลำต้นเกลี้ยง ผิวมัน สีเงินหรือสีเทา มีหนามโค้งลง ยาว 0.1-1 ซม. ใบ เดี่ยว ออกแบบสลับ รูปเข็ม ยาว 1-3 ซม. กว้าง 0.8 -1 มม. ช่อดอก แบบช่อกระจะ ออกที่ซอกหนาม 3-4 ช่อ แต่ละช่อ มีดอก จำนวน 5-10 ดอก ใบประดับ รูปไข่ ยาว 0.5-1 มม. ก้านดอกยาว 1.5-2.5 มม. วงกลีบดอกสีขาว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้ 6 อัน อับเรณู สีดำ รังไข่ อยู่เหนือวงกลีบ 3 คาร์เพล ปลายเกสรแยกออกเป็น 3 ก้าน
- เป็นไม้เถาเนื้อแข็งเลื้อยพันต้นไม้อื่นด้วยหนาม (หนามเปลี่ยนมาจากใบเกล็ดบริเวณข้อ) สามารถเลื้อยปีนป่ายต้นไม้อื่นขึ้นไปได้สูงประมาณ 1.5-4 เมตร แตกแขนงเป็นเถาห่างๆ ลำต้นเป็นสีเขียวหรือสีขาวแกมเหลือง เถามีขนาดเล็กเรียว กลม เรียบ ลื่น และเป็นมัน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-5 มิลลิเมตร เถาอ่อนเป็นเหลี่ยม ตามข้อเถามีหนามแหลม หนามมีลักษณะโค้งกลับ ยาวประมาณ 1-4 มิลลิเมตร บริเวณข้อมีกิ่งแตกแขนงแบบรอบข้อ และกิ่งนี้จะเปลี่ยนเป็นสีเขียวลักษณะแบนเป็นรูปขอบขนาน ปลายแหลม กว้างประมาณ 0.5-1 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 0.5-2.5 มิลลิเมตร ทำหน้าที่แทนใบ มีเหง้าและรากอยู่ใต้ดิน ออกเป็นกระจุกคล้ายกระสวย ลักษณะของรากออกเป็นพวงคล้ายรากกระชาย ลักษณะอวบน้ำ เป็นเส้นกลมยาว มีขนาดโตกว่าเถามาก
ระบบนิเวศ :
- On rocky soil, low to medium altitudes.
การกระจายพันธุ์ :
- E: Nakhon Ratchasima, Chaiyaphum.
Distribution.– Bhutan, India, Malaysia, Myanmar, Nepal, Pakistan, Sikkim; Africa, Australia.
- กระจายพันธุ์กว้างในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียใต้ จีน มาเลเซีย ชวา หมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะโมลุกกะ และตอนเหนือของออสเตรเลีย
- กระจายพันธุ์กว้างในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียใต้ จีน มาเลเซีย ชวา หมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะโมลุกกะ และตอนเหนือของออสเตรเลีย
- กระจายพันธุ์กว้างในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียใต้ จีน มาเลเซีย ชวา หมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะโมลุกกะ และตอนเหนือของออสเตรเลีย
- กระจายพันธุ์กว้างในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียใต้ จีน มาเลเซีย ชวา หมู่เกาะซุนดาน้อย หมู่เกาะโมลุกกะ และตอนเหนือของออสเตรเลีย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- NakhonRatchasima,Chaiyaphum
- ราชบุรี
- ป่าชุมชนอาลอ-โดนแบน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- สุรินทร์
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ใบ - ใบเป็นใบเดี่ยว แข็ง ออกรอบข้อเป็นฝอยๆ เล็กคล้ายหางกระรอก หรือออกเรียงสลับเป็นกระจุก 3-4 ใบ ใบเป็นสีเขียวดก ลักษณะของใบเป็นรูปเข็มขนาดเล็ก ปลายใบแหลม เป็นรูปเคียว โคนใบแหลม มีขนาดกว้างประมาณ 0.5-1 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 10-36 มิลลิเมตร แผ่นมักโค้ง สันเป็นสามเหลี่ยม มี 3 สัน มีหนามที่ซอกกระจุกใบ ก้านใบยาวประมาณ 13-20 เซนติเมตร
ดอก - ออกดอกเป็นช่อกระจะ ยาวประมาณ 2-4 เซนติเมตร โดยจะออกที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบและข้อเถา ดอกย่อยมีขนาดเล็ก ดอกเป็นสีขาวและมีกลิ่นหอม มีประมาณ 12-17 ดอก ก้านดอกย่อยยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีกลีบรวม 6 กลีบ แยกเป็น 2 วง วงนอก 3 กลีบ และวงในอีก 3 กลีบ กลีบมีลักษณะเป็นรูปขอบขนาน ปลายกลีบมน ขอบเรียบ กลีบกว้างประมาณ 0.5-1 มิลลิเมตร และยาวประมาณ 2.5-3.5 มิลลิเมตร กลีบดอกมีลักษณะบางและย่น โคนกลีบเชื่อมติดกันเป็นหลอดรูปดอกเข็มยาวประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ส่วนปลายแยกเป็นแฉก ดอกมีเกสรผู้เชื่อมและอยู่ตรงข้ามกับกลีบรวม เป็นเส้นเล็ก 6 อัน ก้านชูอับเรณูเป็นสีขาว อับเรณูเป็นสีน้ำตาลเข้ม รังไข่เป็นรูปไข่กลับ อยู่เหนือวงกลีบ ยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร มี 2 ช่อง ในแต่ละช่องมีออวุล 2 เมล็ด หรือมากกว่า ส่วนก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ขนาดเล็ก โดยจะออกดอกในช่วงประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน
ผล - ลักษณะของผลเป็นรูปทรงค่อนข้างกลม หรือเป็นพู 3 พู ผิวผลเรียบเป็นมัน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4-6 มิลลิเมตร ผลอ่อนเป็นสีเขียว เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือสีม่วงแดง ภายในผลมีเมล็ดประมาณ 2-6 เมล็ด เมล็ดเป็นสีดำ เปลือกหุ้มมีลักษณะแข็งแต่เปราะ ออกผลในช่วงประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนกรกฎาคม
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- รากสามสิบมีรสเฝื่อนเย็น มีสรรพคุณเป็นยาบำรุงกำลัง ใช้เป็นยาชูกำลัง ตำรายาไทยจะใช้รากเป็นยาแก้กระษัย ในประเทศอินเดียจะใช้รากเป็นยากระตุ้นประสาท รากใช้ผสมกับเหง้าขิงป่าและต้นจันทน์แดง ผสมกับเหล้าโรงใช้เป็นยาแก้วิงเวียน รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาลดความดันโลหิตและลดไขมันในเลือด รากสามสิบมีสรรพคุณช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด โดยไปกระตุ้นการทำงานของตับอ่อนให้เพิ่มการหลั่งสาร Insulin ทั้งต้นหรือราก นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยารักษาโรคคอพอก ผลมีรสเย็น ใช้ปรุงเป็นยาแก้พิษไข้เซื่อมซึม แก้พิษไข้กลับไข้ซ้ำ มักใช้ร่วมกับผลราชดัด เพื่อเป็นยาดับพิษไข้จากบิดเรื้อรัง รากมีรสเฝื่อนเย็น ใช้กินเป็นยาแก้พิษร้อนในกระหายน้ำ รากใช้ต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ไอ
ที่มาของข้อมูล