ข้อมูลสิ่งมีชีวิต


วันที่อัพเดท : 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
วันที่สร้าง: 12 มิ.ย. 2566 12:11 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
- ไม้ต้น
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
- ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. โคนต้นมีพูพอน เปลือกเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกในสีเหลือง ใบรูปไข่กลับ ยาว 4-16 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมหรือมน โคนรูปลิ่ม แผ่นใบเหนียว ด้านล่างสีเขียวเทา ใบอ่อนสีม่วงอมแดง ก้านใบยาว 3-9 ซม. มีต่อมหนึ่งคู่ด้านข้างประมาณกึ่งกลางก้านใบหรือใกล้โคนก้าน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาวได้ถึง 15 ซม. แกนช่อดอกมีขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1.5 มม. ด้านนอกมีขนประปราย ด้านในมีขนยาวสีน้ำตาลหนาแน่น เกสรเพศผู้ยาว 3-5 มม. ยื่นพ้นหลอดกลีบ ผลผนังชั้นในแข็ง แก่ไม่แตก รูปรี ยาว 2-3 ซม. เรียบหรือมีสันนูน 5 สัน มีขนสั้นนุ่มสีน้ำตาลหนาแน่น เมล็ดรูปรี ยาว 2-2.5 ซม. ผิวย่น
- ไม้ยืนต้นสูง 25-30 เมตร เปลือกผิวขรุขระ แตกตามยาว สีเทาดำ มักมีพูพอนแคบ ๆ ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ ค่อนข้างแน่นตามปลายกิ่ง รูปไข่กลับแกมวงรี กว้าง 5-16 ซม. ยาว 2-10 ซม. ก้านใบยาว 3-9 ซม. มักมีต่อมขนาดเล็ก 1 คู่อยู่ตรงกลางด้านหน้าของก้านใบ ดอก ออกเป็นช่อที่ซอกใบ ลักษณะเป็นแท่งแกน ยาวประมาณ 3-15 ซม. ดอกมีขนาดเล็ก ดอกสมบูรณ์เพศและดอกเพศผู้อยู่บนช่อดอกเดียวกัน ดอกเพศผู้จะอยู่ด้านบน ลักษณะเป็นถ้วย สีนวล ภายในมีขนนุ่มแน่น มีกลิ่นหอมเอียน ผล เป็นผลสดค่อนข้างกลม สีน้ำตาลเข้ม ขนาด กว้าง 2-3 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. มีสันพอสังเกตได้ เมล็ดค่อนข้างรี แข็ง ผิวขรุขระ ขนาดยาว 1.2 ซม. กว้าง 0.5 ซม.
- ไม้ยืนต้นสูง 25-30 เมตร เปลือกผิวขรุขระ แตกตามยาว สีเทาดำ มักมีพูพอนแคบ ๆ ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ ค่อนข้างแน่นตามปลายกิ่ง รูปไข่กลับแกมวงรี กว้าง 5-16 ซม. ยาว 2-10 ซม. ก้านใบยาว 3-9 ซม. มักมีต่อมขนาดเล็ก 1 คู่อยู่ตรงกลางด้านหน้าของก้านใบ ดอก ออกเป็นช่อที่ซอกใบ ลักษณะเป็นแท่งแกน ยาวประมาณ 3-15 ซม. ดอกมีขนาดเล็ก ดอกสมบูรณ์เพศและดอกเพศผู้อยู่บนช่อดอกเดียวกัน ดอกเพศผู้จะอยู่ด้านบน ลักษณะเป็นถ้วย สีนวล ภายในมีขนนุ่มแน่น มีกลิ่นหอมเอียน ผล เป็นผลสดค่อนข้างกลม สีน้ำตาลเข้ม ขนาด กว้าง 2-3 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. มีสันพอสังเกตได้ เมล็ดค่อนข้างรี แข็ง ผิวขรุขระ ขนาดยาว 1.2 ซม. กว้าง 0.5 ซม.
ระบบนิเวศ :
- ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร 
การกระจายพันธุ์ :
- มีการกระจายอยู่ทั่วไปในป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึง 500 เมตร จะทิ้งใบในช่วงสั้น ๆ ในเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม และใบอ่อนจะขึ้นมาใหม่พร้อมกับตาดอกในเดือนมีนาคม-เมษายน
- มีการกระจายอยู่ทั่วไปในป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ที่ใกล้ระดับน้ำทะเลไปจนถึง 500 เมตร จะทิ้งใบในช่วงสั้น ๆ ในเดือน พฤศจิกายน-ธันวาคม และใบอ่อนจะขึ้นมาใหม่พร้อมกับตาดอกในเดือนมีนาคม-เมษายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
- ชลบุรี
- เชียงราย
- จันทบุรี
- ระยอง, จันทบุรี
- จันทบุรี
- ระยอง
- กาญจนบุรี
- ลำปาง
- ลำพูน, ลำปาง
- ลำปาง, ลำพูน
- พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- เชียงราย, ลำปาง, พะเยา
- ตาก
- ตาก
- แม่ฮ่องสอน
- อุบลราชธานี
- พะเยา, เชียงราย
- พะเยา, เชียงราย
- เลย
- เชียงราย, พะเยา
- ตาก
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- กาญจนบุรี
- ชลบุรี
- จันทบุรี
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- ฉะเชิงเทรา, ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, สระแก้ว
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- กระบี่, สุราษฎร์ธานี
- ชุมพร, ระนอง
- ชุมพร, ระนอง
- พะเยา, น่าน
- ลำพูน, ลำปาง
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แพร่
- แพร่
- ชัยภูมิ, เพชรบูรณ์
- สุโขทัย, ลำปาง
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- กาญจนบุรี, ตาก
- อุตรดิตถ์
- อุตรดิตถ์
- อุบลราชธานี
- พิษณุโลก
- เลย
- เพชรบูรณ์
- พิษณุโลก
- อุตรดิตถ์
- ตาก
- ตาก
- ตาก
- ราชบุรี
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- เชียงใหม่
- อุบลราชธานี
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แพร่, อุตรดิตถ์
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- พะเยา
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- กาญจนบุรี
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- แม่ฮ่องสอน
- อุทัยธานี, กาญจนบุรี, ตาก
- สุรินทร์
- สุรินทร์
- ศรีสะเกษ
- เชียงใหม่
- เชียงใหม่
- ตาก
- ตาก
- หนองคาย
- บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขาชีโอน
- เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ดอนศิลา
- อุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ
- อุทยานแห่งชาติ เขาชะเมา-เขาวง
- อุทยานแห่งชาติ เขาสิบห้าชั้น
- อุทยานแห่งชาติ เขาแหลมหญ้า-หมู่เกาะเสม็ด
- อุทยานแห่งชาติ เขื่อนศรีนครินทร์
- อุทยานแห่งชาติ แจ้ซ้อน
- อุทยานแห่งชาติ ดอยขุนตาล
- อุทยานแห่งชาติ ดอยจง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยภูนาง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ ดอยหลวง
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกพาเจริญ
- อุทยานแห่งชาติ น้ำตกแม่สุรินทร์
- อุทยานแห่งชาติ ผาแต้ม
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูซาง
- อุทยานแห่งชาติ ภูสวนทราย
- อุทยานแห่งชาติ แม่ปืม
- อุทยานแห่งชาติ ลานสาง
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ลำคลองงู
- อุทยานแห่งชาติ ศรีลานนา
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- อุทยานแห่งชาติ เอราวัณ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาเขียว-เขาชมภู่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาอ่างฤาไน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาช้าง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยผาเมือง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยเวียงหล้า
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดอยหลวง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตะเบาะ-ห้วยใหญ่
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ถ้ำเจ้าราม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า บุณฑริก-ยอดมน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูขัด
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูค้อ-ภูกระแต
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูผาแดง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่จริม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ตื่น
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่ยวมฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ยอดโดม
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลำน้ำน่านฝั่งขวา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ลุ่มน้ำปาย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สะเมิง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สันปันแดน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สาละวิน
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยทับทัน-ห้วยสำราญ
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยศาลา
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง
- ป่าดงดิบกะลา ป่าภูสิงห์ และป่าดงสีชมพู หนองคาย
- อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
- สมุนไพร,เนื้อไม้สีขาวอ่อน เหมาะสำหรับใช้ทำกล่องและลัง ผลแห้ง ใช้ฟอกหนัง ทำสีย้อมและหมึก ผลใช้เป็นยาเจริญอาหาร