Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Pateobatis fai
Pateobatis fai
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Himantura fai Jordan & Seale, 1906
ชื่อสามัญ::
-
Pink Whipray
-
Pink whipray
ชื่อไทย:
-
กระเบนลายดอกไม้
-
กระเบนลายดอกไม้, กระเบนหิน
-
ปลากระเบนลายดอกไม้, ปลากระเบนหิน, ปลากระเบนหางหวายสีชมพู
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
ทัศพล กระจ่างดารา และมนตรี สุมณฑา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 184 ชม. (TL 500 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 70-90 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 108-115 ซม. และขนาดแรกเกิด 18-30 ชม.
- แผ่นลำตัวรูปห้าเหลี่ยมมีความกว้างมากกว่าความยาว จะงอยปากสั้น แถบตุ่มแข็งกลางแผ่นลำตัวแคบ มีตุ่มแข็งเป็นรูปตัววีหรือหัวใจ (อาจไม่ชัดเจนในปลาที่โตเต็มวัย) ส่วนหางเรียวยาว (ยาวมากกว่า 2
เท่าของความกว้างแผ่นลำตัว) มีเงี่ยง 1 อัน ไม่มีแผ่นหนังที่หาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีเทาอ่อนถึงน้ำตาลอมชมพู ในปลาขนาดเล็กมีลายคล้ายดอกไม้บนผิวลำตัว ด้านท้องสีขาว ขอบด้านข้างถึงตอนท้ายเป็นสีดำจางๆ
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ส่วนใหญ่กินปลา และสัตว์หน้าดินขนาดเล็กพวกกุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นทรายตามชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 200 เมตร (ส่วนใหญ่พบที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 70 เมตร) อาจพบรวมฝูงตามแนวปะการัง
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dendrelaphis ngansaoensis
Dendrobium pallidiflavens
กิ้งกือ
Graphidostreptus sp.
แมงมุมใยกลมเล็กท้องยาว
Poltys sp.
Cyanotis axilleris
ขะเจ๊าะ,สาธร
Millettia leucantha
Previous
Next