Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Megatrygon microps
Megatrygon microps
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Dasyatis microps (Annandale, 1908)
- Trygon microps Annandale, 1908
ชื่อสามัญ::
-
Smalleye Stingray
-
Smalleye stingray
-
Smalleye stingray, thickspine giant stingray
ชื่อไทย:
-
กระเบนตาเล็ก
-
กระเบนตาเล็ก, กระเบนสีชมพู, กระเบนจุดขาวปีกกว้าง
-
ปลากระเบนตาเล็ก, ปลากระเบนสีชมพู
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
ทัศพล กระจ่างดารา และสุภชัย รอดประดิษฐ์
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 200 เมตร และอาจพบตามปากแม่น้ำและป่าชายเลน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 222 ชม. (TL 320 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 100-130 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 100 ซม. และขนาดแรกเกิด 33 ซม.
- แผ่นลำตัวกว้าง 1.4-1.5 เท่าของความยาว แนวขอบหน้าและขอบท้ายแผ่นลำตัวทำมุมใกล้เคียงกัน ตาเล็ก โคนหางกว้างมากและแบนลง (มีความกว้างมากกว่า 2 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางตา) หางสั้น มี
เงี่ยง 1 อัน และแผ่นหนังเล็กๆ ที่ด้านล่างของหาง แผ่นลำตัวด้านบนสีชมพูหรือสีน้ำตาลอ่อน มีจุดสีขาวเรียงเป็นแถวทางด้านข้าง โคนหางด้านบนเป็นสีเทา ส่วนปลายหางสีดำ และด้านท้องสีขาว ตามขอบอาจมีสีเข้ม
- มีรายงานช้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1-2 ตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน แต่ส่วนใหญ่พบทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1079653
1079653
2
PRJNA1013576
1013576
3
PRJNA888709
888709
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Pavona frodifera
Gracilaria fisheri
Sargassum longifructum
Turbinaria decurrens
Poritta hewitsoni
Geodorum siamensis
Previous
Next