Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Fluvitrygon kittipongi
Fluvitrygon kittipongi
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Himantura kittipongi Vidthayanon & Roberts, 2005
ชื่อสามัญ::
-
Mekong whipray
-
Dark-rimmed stingray
-
Roughback whipray
-
Maeklong whipray, roughback whipray, Kittipong's w
ชื่อไทย:
-
กระเบนแม่กลอง
-
กระเบนทราย
-
กระเบนแม่กลอง, กระเบนทราย, กระเบนเหลือง, กระเบนกิตติพงศ์
-
ปากระเบนลแม่กลอง, ปลากระเบนทราย, ปลากระเบนเหลือง, ปลากระเบนกิตติพงศ์
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
ดร.ชวลิต วิทยานนท์
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ปลากระเบนทราย มีผิวลำตัวขรุขระ ส่วนท้ายลำตัวมักมีลายแถบสีน้ำตาลหรือสีเหลือง ขนาดใหญ่สุดที่พบ 26.8 เซนติเมตร
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 37 ชม. (TL 96 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 15-25 ซม. และขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 20-27 ชม.
- แผ่นลำตัวเกือบเป็นรูปวงกลม มีความยาวมากกว่าความกว้างเล็กน้อย จะงอยปากเป็นมุมแหลมสั้น แถบตุ่มแข็งกลางแผ่นลำตัวกว้าง มีแถวตุ่มนูนแข็งหรือตุ่มหนามที่แนวกลางด้านบนโคนหาง มีเงี่ยง 1-2 อัน ไม่มีแผ่นหนังที่หาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลออกเหลืองหรือส้ม ด้านท้องสีขาวมีขอบเป็นสีส้มหรือน้ำตาล
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ส่วนใหญ่กินสัตว์หน้าดินขนาดเล็กพวกกุ้งและปูเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
จังหวัดราชบุรีถึงกาญจนบุรี
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งอ่าวไทย ในแม่น้ำแม่กลอง และแม่น้ำเจ้าพระยา
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นแหล่งน้ำที่เป็นโคลนหรือทรายในแม่น้ำ จนถึงปากแม่น้ำ (ความลึกน้ำไม่เกิน 40 เมตร)
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคได้ ส่วนปลาที่มีชีวิตสามารถนำมาเลี้ยงและเพาะพันธุ์ในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, )
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, )
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
Freshwater FISHES IN THAILAND
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
สนมังกร
Juniperus junghuniana
Schoenorchis fragans
Podabacia crustacean
Piper aurantuacum
ปลาดัก
Amblyceps
Trachelomonas volvocinna
Previous
Next