Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Anastomus oscitans
Anastomus oscitans
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Ardea oscitans Boddaert, 1783
ชื่อสามัญ::
-
Asian Openbill
ชื่อไทย::
-
นกปากห่าง
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกปากห่าง
-
ปางา
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
17 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2567
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
วันที่สร้าง:
18 ธ.ค. 2566 10:07 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ระบบนิเวศแมน้ำ หนองน้ำ พื้นที่ชุมน้ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นนทบุรี
-
กระบี่
-
นนทบุรี
-
อุตรดิตถ์, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่เกษตรกรรม
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าลำน้ำน่านฝั่งขวา อุตรดิตถ์, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
เชียงราย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นกชนิดนี้มีขนาดใหญ่ประมาณ 81 เซนติเมตร มีขนาดใกล้เคียง
กับห่านบ้าน มีเอกลักษณ์ คือ มีปากใหญ่ยาวสีเทาดำ ปลายปากแหลม กลางปากค่อนไปทางปลายปากมีลักษณะเปิดเป็นช่องว่าง ซึ่งเมื่อปากบนและปากล่างประกบกันจะทำให้สามารถมองเห็นช่องว่างของปากได้อย่างชัดเจน ด้วยเหตุนี้จึงถูกเรียกชื่อว่า “นกปากห่าง” โดยสภาพที่ช่วงกลางปากของนกชนิดนี้มีลักษณะเปิดเป็นช่องว่าง จะทำให้ช่วงกลางปากมีลักษณะแยกออกจากกัน ซึ่งจะช่วยทำให้นกสามารถจับหอยโข่งซึ่งเป็นอาหารโปรดนั้นไม่ให้ลื่นหลุดออกจากปาก คอของนกมีขนาดยาวและขามีขนาดยาวมากสีชมพู แข้งและตีนสีชมพูคล้ำ ในช่วงระยะเวลานอกฤดูผสมพันธุ์ ขนปกคลุมลำตัวสีเทาอ่อน ขนโคนปีก ขนปีกบินและหางสีดำ ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ขนปกคลุมลำตัวสีขาวมากขึ้น แข้งและตีนสีแดง เมื่ออยู่ในระยะนกวัยอ่อน หัวและคอสีน้ำตาล แข็งสีดำ ปากมีขนาดเล็กและไม่มีช่องว่าง เมื่อขณะที่นกชนิดนี้โผบินอยู่
ในท้องฟ้า จะสามารถเห็นขนใต้ปีกสีขาวสลับดำ และเห็นปากหนาของนกและมีขนาดใหญ่ได้อย่างชัดเจน หากเรายืนอยู่ใน ระยะใกล้ๆ ขณะที่นกกำลังบิน จะได้ยินเสียงนกกระพือปีกมีเสียงดังมาก หากินโดยการเดินท่องในน้ำ หรือในดินเลนอย่างช้าๆ และใช้ปากที่มีลักษณะเปิดเป็นช่องว่าง (ปากห่าง) จับหอยเชอร์รี่หรือหอยโข่งนั้นขึ้นมาจากน้ำ แล้วใช้ปลายปากแหลมจิกเนื้อหอยโข่งออกมาจากเปลือกหอยแล้วกลืนกินหอยเข้าไปทั้งตัว ในช่วงกลางคืน จะหลับนอนกันเป็นกลุ่มๆ บนยอดกิ่งไม้ นกชนิดนี้มักจะพักผ่อนหลับนอนในต้นไม้ที่เดิมเป็นประจำทุกคืน ตราบเท่าที่ยังไม่มีการรบกวนจากมนุษย์
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
คู่มือจำแนกชนิดพันธุ์นกน้ำ ในระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำอิงตอนล่าง, 2566, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก สัตว์เลื้อยคลาน นก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในพรุลานควาย, โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรชุมชนและเครือข่ายเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูพรุลานควายอย่างยั่งยืน, กองบริหารกองทุนสิ่งแวดล้อม, สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Gluconobacter tropicalis
Montipora aeqituberculata
Ficus micusmaclellanbii
Lecane leontna
เห็ดรังนกขน เห็ดรังนก เห็ดรังนกลาย
Cyathus striatus
สะอึก
Merremia nederacea
Previous
Next