Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cnesmone javanica
Cnesmone javanica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cnesmone javanica
Blume
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Tragia macrophylla Wall.
- Tragia rugosa Wall.
ชื่อไทย::
-
ละหุ่งเครือ
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Cnesmone
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:39 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาล้มลุก มีเนื้อไม้ หูใบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.5-0.8 ซม. ติดทน ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-17 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเลื่อย ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตรงข้ามใบหรือปลายกิ่ง ยาว 3-9 ซม. ดอกแยกเพศร่วมต้น สีเขียว ดอกเพศผู้ จำนวนมากอยู่ปลายช่อ เกสรเพศผู้ 3 อัน แยกกัน อับเรณูมีรยางค์สั้นๆ ตรงปลาย ดอกเพศเมีย มี 1-2 ดอก อยู่ด้านล่าง ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ มีขนละเอียดทั้งสองด้าน ไม่มีกลีบดอก รังไข่มีขนยาวหนาแน่น เกสรเพศเมีย แยก 3 แฉก ยอดเกสรจักชายครุยละเอียด ติดทน ผลแห้งแก่แลัวแตก รูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดกลม
-
ไม้เถาล้มลุก มีเนื้อไม้ หูใบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.5-0.8 ซม. ติดทน ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-17 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเลื่อย ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตรงข้ามใบหรือปลายกิ่ง ยาว 3-9 ซม. ดอกแยกเพศร่วมต้น สีเขียว ดอกเพศผู้ จำนวนมากอยู่ปลายช่อ เกสรเพศผู้ 3 อัน แยกกัน อับเรณูมีรยางค์สั้นๆ ตรงปลาย ดอกเพศเมีย มี 1-2 ดอก อยู่ด้านล่าง ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ มีขนละเอียดทั้งสองด้าน ไม่มีกลีบดอก รังไข่มีขนยาวหนาแน่น เกสรเพศเมีย แยก 3 แฉก ยอดเกสรจักชายครุยละเอียด ติดทน ผลแห้งแก่แลัวแตก รูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดกลม
-
ไม้เถาล้มลุก มีเนื้อไม้ หูใบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.5-0.8 ซม. ติดทน ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-17 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเลื่อย ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตรงข้ามใบหรือปลายกิ่ง ยาว 3-9 ซม. ดอกแยกเพศร่วมต้น สีเขียว ดอกเพศผู้ จำนวนมากอยู่ปลายช่อ เกสรเพศผู้ 3 อัน แยกกัน อับเรณูมีรยางค์สั้นๆ ตรงปลาย ดอกเพศเมีย มี 1-2 ดอก อยู่ด้านล่าง ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ มีขนละเอียดทั้งสองด้าน ไม่มีกลีบดอก รังไข่มีขนยาวหนาแน่น เกสรเพศเมีย แยก 3 แฉก ยอดเกสรจักชายครุยละเอียด ติดทน ผลแห้งแก่แลัวแตก รูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดกลม
-
ไม้เถาล้มลุก มีเนื้อไม้ หูใบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 0.5-0.8 ซม. ติดทน ใบเดี่ยว ออกสลับ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-17 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักฟันเลื่อย ปลายใบแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตรงข้ามใบหรือปลายกิ่ง ยาว 3-9 ซม. ดอกแยกเพศร่วมต้น สีเขียว ดอกเพศผู้ จำนวนมากอยู่ปลายช่อ เกสรเพศผู้ 3 อัน แยกกัน อับเรณูมีรยางค์สั้นๆ ตรงปลาย ดอกเพศเมีย มี 1-2 ดอก อยู่ด้านล่าง ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ มีขนละเอียดทั้งสองด้าน ไม่มีกลีบดอก รังไข่มีขนยาวหนาแน่น เกสรเพศเมีย แยก 3 แฉก ยอดเกสรจักชายครุยละเอียด ติดทน ผลแห้งแก่แลัวแตก รูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. เมล็ดกลม
การกระจายพันธุ์ :
-
พบบริเวณริมลำธารระหว่างเขาหินปูนที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 450-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกรกฎาคม
-
พบบริเวณริมลำธารระหว่างเขาหินปูนที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 450-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกรกฎาคม
-
พบบริเวณริมลำธารระหว่างเขาหินปูนที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 450-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกรกฎาคม
-
พบบริเวณริมลำธารระหว่างเขาหินปูนที่ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเล 450-550 เมตร ออกดอกและติดผลเดือนกรกฎาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Arthrophyllum meliifolium
Scleria psilorrhiza
Dryopteris sparsa
ต้างใหญ่
Hoya pachyclada
Trianthema triquetra
Areca latiloba
Previous
Next