Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Afgekia sericea
Afgekia sericea
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Afgekia sericea
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
กันภัย
-
ถั่วแปปช้าง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ถั่วแปบช้าง
-
thua paep chang
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Fabales
วงศ์::
Fabaceae
สกุล:
Afgekia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถา ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 15-17 ใบ รูปขอบขนานหรือขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลมโคนมน ด้านล่างมีขนสีขาวเป็นมันหนาแน่นคล้ายเส้นไหม ดอก ออกเป็นช่อตั้งที่ปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง มีใบประดับสีชมพูม่วง เรียงกันแน่นที่ปลายช่อ ใบประดับมีขนนุ่ม กลีบดอกแบบดอกถั่ว ร่วงง่าย กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ผล เป็นฝักแบน มี 2-3 เมล็ด
-
ไม้เถา ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 15-17 ใบ รูปขอบขนานหรือขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลมโคนมน ด้านล่างมีขนสีขาวเป็นมันหนาแน่นคล้ายเส้นไหม ดอก ออกเป็นช่อตั้งที่ปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง มีใบประดับสีชมพูม่วง เรียงกันแน่นที่ปลายช่อ ใบประดับมีขนนุ่ม กลีบดอกแบบดอกถั่ว ร่วงง่าย กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ผล เป็นฝักแบน มี 2-3 เมล็ด
-
ไม้เถา ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 15-17 ใบ รูปขอบขนานหรือขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลมโคนมน ด้านล่างมีขนสีขาวเป็นมันหนาแน่นคล้ายเส้นไหม ดอก ออกเป็นช่อตั้งที่ปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง มีใบประดับสีชมพูม่วง เรียงกันแน่นที่ปลายช่อ ใบประดับมีขนนุ่ม กลีบดอกแบบดอกถั่ว ร่วงง่าย กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ผล เป็นฝักแบน มี 2-3 เมล็ด
-
ไม้เถา ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว เรียงเวียนสลับ ใบย่อย 15-17 ใบ รูปขอบขนานหรือขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลมโคนมน ด้านล่างมีขนสีขาวเป็นมันหนาแน่นคล้ายเส้นไหม ดอก ออกเป็นช่อตั้งที่ปลายกิ่ง สีชมพูอมม่วง มีใบประดับสีชมพูม่วง เรียงกันแน่นที่ปลายช่อ ใบประดับมีขนนุ่ม กลีบดอกแบบดอกถั่ว ร่วงง่าย กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมกันเป็นรูปถ้วย ผล เป็นฝักแบน มี 2-3 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบเฉพาะภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามป่าเต็งรังและป่าละเมาะที่แห้งแล้ง ออกดอกในฤดูฝน
-
NE, E & C Thailand
-
พบเฉพาะภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามป่าเต็งรังและป่าละเมาะที่แห้งแล้ง ออกดอกในฤดูฝน
-
พบเฉพาะภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามป่าเต็งรังและป่าละเมาะที่แห้งแล้ง ออกดอกในฤดูฝน
-
พบเฉพาะภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ขึ้นตามป่าเต็งรังและป่าละเมาะที่แห้งแล้ง ออกดอกในฤดูฝน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เถา, ไม้เลื้อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous forest, limeston, low altitudes.
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2549)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กำแพงเจ็ดชั้น
Salacia chinensis
Horsfieldia ridleyana
Vitex pinnata
Caryota maxima
Tupistra grandis
เนียมอ้ม
Chloranthus spicatus
Previous
Next