Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cleome rutidosperma
Cleome rutidosperma
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cleome rutidosperma
DC.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ผักเสี้ยนขน
-
ผักเสี้ยนม่วง
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Brassicales
วงศ์::
Cleomaceae
สกุล:
Sieruela
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งขึ้นหรือแผ่กระจาย มีขนสูง 20 – 50 ซม. ใบ เป็นใบประกอบแบบสามใบ ใบย่อยรูปรี กว้าง 1 – 2 ซม. ยาว 2 – 4 ซม. ผิวใบมีขนกระจายค่อนข้างเหนียว ดอก สีม่วงแกมขาว ออกเดี่ยวที่ปลายยอดหรือตามซอกใบ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ มีขนเหนียวกลีบดอก 4 กลีบ รูปรีหรือรูปหอก กลีบสีม่วง โคนกลีบสีขาว เกสรเพศผู้แยกกัน 6 อัน รังไข่อยู่เหนือกลีบดอก รูปรี โค้งคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ผล แบบฝักแห้ง แก่แล้วแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 – 5 มม. ยาว 4 – 7 ซม. เมล็ด สีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม แบนด้านข้าง ผิวเป็นคลื่นตามขวางชัดเจน
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งขึ้นหรือแผ่กระจาย มีขนสูง 20 – 50 ซม. ใบ เป็นใบประกอบแบบสามใบ ใบย่อยรูปรี กว้าง 1 – 2 ซม. ยาว 2 – 4 ซม. ผิวใบมีขนกระจายค่อนข้างเหนียว ดอก สีม่วงแกมขาว ออกเดี่ยวที่ปลายยอดหรือตามซอกใบ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ มีขนเหนียวกลีบดอก 4 กลีบ รูปรีหรือรูปหอก กลีบสีม่วง โคนกลีบสีขาว เกสรเพศผู้แยกกัน 6 อัน รังไข่อยู่เหนือกลีบดอก รูปรี โค้งคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ผล แบบฝักแห้ง แก่แล้วแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 – 5 มม. ยาว 4 – 7 ซม. เมล็ด สีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม แบนด้านข้าง ผิวเป็นคลื่นตามขวางชัดเจน
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งขึ้นหรือแผ่กระจาย มีขนสูง 20 – 50 ซม. ใบ เป็นใบประกอบแบบสามใบ ใบย่อยรูปรี กว้าง 1 – 2 ซม. ยาว 2 – 4 ซม. ผิวใบมีขนกระจายค่อนข้างเหนียว ดอก สีม่วงแกมขาว ออกเดี่ยวที่ปลายยอดหรือตามซอกใบ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ มีขนเหนียวกลีบดอก 4 กลีบ รูปรีหรือรูปหอก กลีบสีม่วง โคนกลีบสีขาว เกสรเพศผู้แยกกัน 6 อัน รังไข่อยู่เหนือกลีบดอก รูปรี โค้งคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ผล แบบฝักแห้ง แก่แล้วแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 – 5 มม. ยาว 4 – 7 ซม. เมล็ด สีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม แบนด้านข้าง ผิวเป็นคลื่นตามขวางชัดเจน
-
ไม้ล้มลุก ลำต้นตั้งขึ้นหรือแผ่กระจาย มีขนสูง 20 – 50 ซม. ใบ เป็นใบประกอบแบบสามใบ ใบย่อยรูปรี กว้าง 1 – 2 ซม. ยาว 2 – 4 ซม. ผิวใบมีขนกระจายค่อนข้างเหนียว ดอก สีม่วงแกมขาว ออกเดี่ยวที่ปลายยอดหรือตามซอกใบ สมมาตรด้านข้าง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ มีขนเหนียวกลีบดอก 4 กลีบ รูปรีหรือรูปหอก กลีบสีม่วง โคนกลีบสีขาว เกสรเพศผู้แยกกัน 6 อัน รังไข่อยู่เหนือกลีบดอก รูปรี โค้งคล้ายพระจันทร์เสี้ยว ผล แบบฝักแห้ง แก่แล้วแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3 – 5 มม. ยาว 4 – 7 ซม. เมล็ด สีดำหรือสีน้ำตาลเข้ม แบนด้านข้าง ผิวเป็นคลื่นตามขวางชัดเจน
-
ไม้พุ่ม
การกระจายพันธุ์ :
-
หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก อินโดนีเซีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามริมหนองน้ำที่โล่ง
-
หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก อินโดนีเซีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามริมหนองน้ำที่โล่ง
-
หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก อินโดนีเซีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามริมหนองน้ำที่โล่ง
-
หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก อินโดนีเซีย ถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบตามริมหนองน้ำที่โล่ง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
สมุนไพร
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2016-0127
NSM
Pathum Thani
THNHM-P-2016-0128
NSM
Pathum Thani
THNHM-P-2016-0129
NSM
Pathum Thani
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Calanthe angusta
Mnesithea striata
Gardenia obtusifolia
Ajuga macrosperma
Thrixspermum calceolus
ผักไผ่น้ำ
Polygonum tomentosum
Previous
Next