Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Clarias macrocephalus
Clarias macrocephalus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Clarias macrocephalus
Günther, 1864
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Big haeaded walking catfish
-
Bighead catfish
-
Gunther's Walking Catfish
-
Broadhead Catfish
ชื่อไทย::
-
ปลาดุกบิ๊กอุย
-
ดุกอุย
-
ปลาดุกอุย
-
ดุกอุย, ดุกเนื้ออ่อน
ชื่อท้องถิ่น::
-
อีแกก้อลีลือโมะฮ์
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Siluriformes
วงศ์::
Clariidae
สกุล:
Clarias
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 16:28 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 16:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่เกษตรกรรม ดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
เขื่อนปราณบุรี
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่คำมี แพร่
ระบบนิเวศ :
-
Fresh Water
-
Floodplain to peat
-
ระบบนิเวศเกษตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
แม่น้ำโขง, หนองคาย, นครสวรรค์, ขอนแก่น, สงขลา พิษณุโลก, พบทุกภาคของประเทศไทย
-
พรุคันธุลี, พรุไม้ขาว, พรุโต๊ะแดง, พรุในภาคตะวันออก
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เชียงใหม่
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
พะเยา, ระนอง, แพร่
การกระจายพันธุ์ :
-
Indo-Chinese, Malay Peninsula
-
พบในแหล่งน้ำนิ่งและแม่น้ำของทุกภาค ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีรูปร่างเหมือนปลาดุกด้าน แต่ส่วนท้ายทอยมนกลม ส่วนครีบหางเล็กกว่า ตัวมีสีคล้ำอมเหลือง หรือมีสีคล้ายลายหินอ่อนประ มีจุดสีขาวเป็นแถวแนวตั้งบนลำตัวในบางตัว ด้านท้องสีจาง ขนาดพบใหญ่สุด 35 เซนติเมตร พบทั่วไป 18-20 เซนติเมตร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ภูมิปัญญาการทำปลาดุกร้า :: การทำปลาดุกร้าเป็นภูมิปัญญาของชาวภาคใต้ เป็นวิธีการถนอมอาหารอย่างหนึ่งในพื้นที่ลุ่มทะเลสาบสงขลาที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สะอาดและอุดมสมบูรณ์อีกแหล่งหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตำบลทะเลน้อย ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ซึ่งตั้งอยู่ริมทะเลน้ำจืด คือทะเลน้อย เป็นแหล่งปลาชุกชุมขนาดใหญ่อีกแหล่งหนึ่งในธรรมชาติ และอีกแหล่งหนึ่งที่เป็นแหล่งน้ำที่มีสัตว์น้ำอาศัยอยู่อีกแห่งหนึ่งคือ ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราชและเขตอำเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยในพื้นที่นี้มีปลาน้ำจืดธรรมชาติอยู่มากมาย โดยเฉพาะปลาดุก ที่นิยมจับมารับประทาน และถ้าเหลือก็จะนำมาถนอมอาหารเป็นปลาดุกร้าลักษณะเฉพาะที่แสดงภูมิปัญญ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2011)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2011)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2011)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (IUCN, 2011)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA638030
638030
2
PRJNA637778
637778
3
PRJNA624528
624528
4
PRJNA604477
604477
5
PRJNA433788
433788
6
PRJNA311624
311624
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
OEPP Biodiversity Series Vol. 4 Checklist of FISHES IN THAILAND, 2540
ONEP Biodiversity Series Vol. 16 : Thailand Red Data : Fishes
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมประมง
กรมป่าไม้
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
IUCN Red List
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cryptocentrus cinctus
Lenisquilla lata
Leptoseris papyracea
ผีเสื้อหนอนกินใบ
Hippotion boerhaviae
ผีเสื้อลายด่างเทาใหญ่
Coladenia buchananii
สร้อยลูกบัว
Lobocheilus quadrilineatus
Previous
Next