Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Cinnyris asiaticus
Cinnyris asiaticus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Cinnyris asiaticus
(Latham, 1790)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- ? asiaticus Latham, 1790
- Nectarinia asiatica (Latham, 1790)
ชื่อสามัญ::
-
Purple Sunbird
ชื่อไทย::
-
นกกินปลีดำม่วง
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกกินปลีดำม่วง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Passeriformes
วงศ์::
Nectariniidae
สกุล:
Cinnyris
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:48 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:48 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ตัวผู้ : หัว อก และลำตัวด้านบนม่วงแกมน้ำเงินเข้มเหลือบเป็นมัน อกตอนล่างมีแถบน้ำตาลแดงเข้ม ลำตัวด้านล่างสีเข้มกว่าหลัง ปีกและหางดำ ในที่มีแสงน้อยมักเห็นเป็นนกสีดำ ตัวผู้ผลัดขน : คล้ายนกกินปลีอกเหลืองตัวผู้ช่วงผลัดขนมาก แต่ปีกเข้มกว่า มักมีสีน้ำเงินเข้มเป็นมันที่หัวปีก ตัวเมีย : คล้ายนกกินปลีอกเหลืองมากแต่สีอ่อนกว่า ลำตัวด้านล่างขาวมากกว่า แต้มขาวที่ปลายหางแคบกว่า
ระบบนิเวศ :
-
ป่าเต็งรัง ป่าโปร่ง ป่าชายหาด พื้นที่เกษตรกรรม ที่ราบถึงความสูง 1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล มักพบในที่ระดับต่ำ
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระแก้ว
-
พิษณุโลก
-
พะเยา, ลำปาง, ลำพูน, นครสวรรค์, เชียงราย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
ป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว พะเยา, ป่าแม่จางฝั่งซ้าย ลำปาง, ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ช่วยในการกระจายพันธุ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Rhinocypha fenestrella
งูแสมรังระนอง
Hydrophis obscurus
Alpheus djiboutensis
Potamon maesotense
Coptops poscoci
Sternaspis scutata
Previous
Next