Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Chrysocolaptes lucidus
Chrysocolaptes lucidus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Chrysocolaptes lucidus
(Scopoli, 1786)
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Greater Flameback
-
buff-spotted flameback, greater flameback, greater
ชื่อไทย::
-
นกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Piciformes
วงศ์::
Picidae
สกุล:
Chrysocolaptes
ปีที่ตีพิมพ์:
2007
วันที่อัพเดท :
2 มิ.ย. 2564 11:51 น.
วันที่สร้าง:
2 มิ.ย. 2564 11:51 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
คล้ายนกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง แต่ขนาดตัวใหญ่กว่า ปากยาวกว่า แถบดำที่ตาและข้างคอกว้างกว่า ตาสีเหลือง
ลายเกล็ดสีขาวที่ท้องใหญ่กว่าเพศผู้หน้าผากและหงอนมีสีแดงเพศเมีย หน้าผากและหงอนมีสีดำ และจุดขาวใหญ่กว่านกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
-
สีลำตัวคล้ายคลึงกับนกหัวขวานสามนิ้วหลังทองมาก เมื่อดูในธรรมชาติจึงจำแนกได้ค่อนข้างยาก แต่ก็มีลักษณะที่แตกต่างกันคือนกหัวขวานสี่นิ้วหลังทอง มีปากใหญ่และหนากว่า มี 4 นิ้ว มีเส้นสีดำ 2 เส้นลากจากมุมปากไปข้างคอ และล้อมรอบแถบสีขาวตรงบริเวณใต้ตา กระหม่อมและพุ่มหงอนขนของตัวผู้มีสีแดง ส่วนตัวเมียเป็นสีดำมีลายจุดสีขาวกระจาย
ระบบนิเวศ :
-
ป่าผลัดใบและป่าดิบ
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศเกาะ
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี
-
เลย
-
พังงา
-
อุบลราชธานี
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
พะเยา
-
กระบี่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พบในอินเดีย จีนด้านตะวันตกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะซุนดาใหญ่ และฟิลิปปินส์
พบในป่าทั่วๆ ไป เข่น ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าชายเลน และป่ารุ่น ตั้งแต่พื้นที่ราบจนกระทั่งความสูง 1,200 เมตร จากระดับน้ำทะเล
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
-
ผาแต้ม
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 18 Birds of Dry and Semi-Humid Ecosystem, 2550
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 6 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกาะ, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Heniochus pleurotaenia
หอยเม็ดทรายลายจุด
Neotricula aperta
Papilio rhetenor
Oliva annulata
นกกิ้งโครงแกลบหลังม่วงดำ
Agropsar sturninus
Nebularia pellisserpentis
Previous
Next