Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Christisonia siamensis
Christisonia siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Christisonia siamensis
Craib
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Aeginetia siamensis (Craib) Livera
ชื่อไทย::
-
ว่านดอกสามสี
ชื่อท้องถิ่น::
-
ดอกดิน ว่านหญ้าแฝก เอื้องดิน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Orobanchaceae
สกุล:
Christisonia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชเบียน ลำต้นอยู่ใต้ดินขนาดเล็ก อาศัยบนรากพืชชนิดอื่น ทุกส่วนไม่มีสีเขียว สูง 3-5 ซม. ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกที่ปลายสุดของลำต้น สีม่วงแกมชมพู เป็นกระเปาะใหญ่ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นถ้วยที่ฐานดอก กลีบดอกเชื่อมติดกัน ด้านในส่วนโคนกระเปาะมีสีนวลหรือสีเหลือง ปลายสีม่วงเข้มแยกเป็น 5 กลีบ เกสรผู้ 4 อัน มีขนาดสั้นยาวต่างกันเป็นคู่ ผลเป็นฝัก เมื่อแก่จะแตก เมล็ดมีจำนวนมาก
-
พืชเบียน ลำต้นอยู่ใต้ดินขนาดเล็ก อาศัยบนรากพืชชนิดอื่น ทุกส่วนไม่มีสีเขียว สูง 3-5 ซม. ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกที่ปลายสุดของลำต้น สีม่วงแกมชมพู เป็นกระเปาะใหญ่ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นถ้วยที่ฐานดอก กลีบดอกเชื่อมติดกัน ด้านในส่วนโคนกระเปาะมีสีนวลหรือสีเหลือง ปลายสีม่วงเข้มแยกเป็น 5 กลีบ เกสรผู้ 4 อัน มีขนาดสั้นยาวต่างกันเป็นคู่ ผลเป็นฝัก เมื่อแก่จะแตก เมล็ดมีจำนวนมาก
-
พืชเบียน ลำต้นอยู่ใต้ดินขนาดเล็ก อาศัยบนรากพืชชนิดอื่น ทุกส่วนไม่มีสีเขียว สูง 3-5 ซม. ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกที่ปลายสุดของลำต้น สีม่วงแกมชมพู เป็นกระเปาะใหญ่ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นถ้วยที่ฐานดอก กลีบดอกเชื่อมติดกัน ด้านในส่วนโคนกระเปาะมีสีนวลหรือสีเหลือง ปลายสีม่วงเข้มแยกเป็น 5 กลีบ เกสรผู้ 4 อัน มีขนาดสั้นยาวต่างกันเป็นคู่ ผลเป็นฝัก เมื่อแก่จะแตก เมล็ดมีจำนวนมาก
-
พืชเบียน ลำต้นอยู่ใต้ดินขนาดเล็ก อาศัยบนรากพืชชนิดอื่น ทุกส่วนไม่มีสีเขียว สูง 3-5 ซม. ดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกที่ปลายสุดของลำต้น สีม่วงแกมชมพู เป็นกระเปาะใหญ่ ดอกสมบูรณ์เพศ กลีบรองดอกเชื่อมติดกันเป็นถ้วยที่ฐานดอก กลีบดอกเชื่อมติดกัน ด้านในส่วนโคนกระเปาะมีสีนวลหรือสีเหลือง ปลายสีม่วงเข้มแยกเป็น 5 กลีบ เกสรผู้ 4 อัน มีขนาดสั้นยาวต่างกันเป็นคู่ ผลเป็นฝัก เมื่อแก่จะแตก เมล็ดมีจำนวนมาก
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบได้ในป่าหญ้าที่ชื้น ที่ความสูงประมาณ 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
-
N, NE & C Thailand
-
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบได้ในป่าหญ้าที่ชื้น ที่ความสูงประมาณ 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
-
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบได้ในป่าหญ้าที่ชื้น ที่ความสูงประมาณ 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
-
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศไทย พบได้ในป่าหญ้าที่ชื้น ที่ความสูงประมาณ 500-1,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กาฝากล้มลุก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
กาญจนบุรี
-
กาญจนบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous and dry evergreen forests, 500 − 1000 m.
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า สลักพระ
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ruppia maritima
เหงือกปลาหมอ
Acanthus illicifolius
Pseudognaphalium affine
Daemonorops draco
สิงโตคอแผง
Rhytionanthos mirum
ซือลีแยยากา
Xylopia fusca
Previous
Next